คู่มือศึกษาพระไตรปิฎก คัมภีร์เนตติปกรณ์


"เนตติปกรณ์” เป็นคัมภีร์ที่สอนการขยายความพุทธพจน์ ขยายในสิ่งที่พระพุทธองค์ตรัสสอน คำภีร์นี้แต่งขึ้นโดยพระมหากัจจายนะ ผู้เป็นเลิศในการอธิบายความย่อให้พิศดาร

โดยปกติของเวไนยสัตว์ที่เป็นวิปัญจิตัญญู เมื่อได้ฟังธรรมจากพระพุทธองค์แล้วจะไม่สามารถเข้าใจในอรรถและพยัญชนะได้ทั้งหมด เช่น ครั้งหนึ่ง พระผู้มีพระภาคทรงแสดงภัทเทกรัตตสูตรโดยย่อ แล้วเสด็จเข้าสู่พระวิหารที่ประทับ พระภิกษุทั้งหลาย ไม่มีโอกาสได้กราบทูลถามเนื้อความที่ตรัสไว้แล้วโดยย่อให้เข้าใจได้ จึงพากันเข้าไปหาพระมหากัจจายนะ กราบอาราธนาให้ท่านได้เมตตาอธิบายขยายความให้ฟัง พระเถระจึงได้อธิบายขยายความให้ฟังอย่างพิสดาร แล้วกล่าวแนะนำว่า “ท่านผู้มีอายุ ข้าพเจ้าเข้าใจความหมายแห่งพระสูตรนี้ตามที่อธิบายมานี้ แต่ถ้าท่านทั้งหลายมีความต้องการจะทราบให้แน่ชัดก็จงไปกราบทูลถามพระผู้มีพระภาค เมื่อพระองค์ทรงแก้อย่างไร ก็จงจำไว้อย่างนั้นเถิด” พระภิกษุเหล่านั้นพากันลาพระเถระแล้ว เข้าไปกราบทูลเนื้อความที่พระมหากัจจายนะอธิบายไว้ให้พระพุทธองค์ทรงสดับ

เมื่อพระพุทธองค์ทรงสดับแล้วก็ตรัสสรรเสริญพระเถระว่า “ภิกษุทั้งหลาย พระมหากัจจายนะ เป็นผู้มีปัญญา เนื้อความนั้นถ้าพวกเธอถามตถาคต แม้ตถาคตก็จะอธิบายอย่างนั้น เช่นกัน ขอพวกเธอจงจำเนื้อความนั้นไว้เถิด” เมื่อครั้งพระพุทธองค์ ประทับอยู่ ณ พระเชตะวันมหาวิหาร ทรงตั้งพระมหากัจจายนะไว้ในตำแหน่งเอตทัคคะ เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายในฝ่าย ผู้อธิบายเนื้อความย่อให้พิสดาร คัมภีร์นี้แต่งโดย พระมหากัจจายนะ ชื่อว่า เนตติปกรณ์ คำว่า "เนตติ" เพราะสามารถนำเวไนยสัตว์ทั้งหลายไปสู่มรรคผลนิพพาน หรือเป็นเครื่องแนะนำ หรือเป็นที่แนะนำเวไนยสัตว์ทั้งหลายไปสู่มรรคผลนิพพาน ดังมีวิเคราะห์ว่า "นยตีติ เนตติ เนตฺติ" แปลว่า "คัมภีร์ใดย่อมนำเวไนยสัตว์ทั้งหลายไปสู่มรรคผลนิพพาน เพราะเหตุนั้น คัมภีร์นั้น ชื่อว่า เนตติหรือ "นยนฺติ เอตายาติ เนตฺติ" แปลว่า "บุคคลผู้แสดงธรรมทั้งหลายย่อมแนะนำเวไนยบุคคลด้วยคัมภีร์นี้ เพราะเหตุนั้น คัมภีร์นั้น ชื่อว่า เนตติ" หรือ "นียนฺติ เอตฺถาติ เนตฺติ" แปลว่า "เวไนยบุคคลทั้งหลายอันบุคคลผู้แสดงธรรมย่อมแนะนำคัมภีร์นี้ เพราะเหตุนั้น คัมภีร์นั้น ชื่อว่า เนตติ"


☀ ๑. สังคหวาระ

สังคหวาระ (ปริจเฉทย่อความ)
กลุ่มศัพท์และกลุ่มอรรถ ๑๒
หาระ ๑๖ นัย ๕ มูลบท ๑๘
หาระและนัยแสดงพระพุทธพจน์ตามสมควร
คําปฏิญญา

☀ ๒. อุทเทสวาระ
อุทเทสวาระ (ปริจเฉทแสดงอุเทศ)
หาระ ๑๖ คาถาสรุป (หาระ ๑๖)
นัย ๕ คาถาสรุป (นัย ๕
มูลบท ๑๘ คาถาสรุป (มูลบท ๑๘)

☀ ๓. นิทเทสวาระ
นิทเทสวาระ (ปริจเฉทแสดงนิเทศ)
หารสังเขป
  • เทสนาหาระ
  • วิจยหาระ
  • ยุตติหาระ
  • ปทัฏฐานหาระ
  • ลักขณหาระ
  • จตุพยูหหาระ
  • อาวัฏฏหาระ
  • วิภัตติหาระ
  • ปริวัตตนหาระ
  • เววจนหาระ
  • ปัญญัตติหาระ
  • โอตรณหาระ
  • โสธนหาระ
  • อธิฏฐานหาระ
  • ปริกขารหาระ
  • สมาโรปนหาระ
นยสังเขป
  • นันทิยาวัฏฏนัย
  • ติปุกขลนัย
  • สีหวิกกีฬิตนัย
  • ทิสาโลจนนัย
  • อังกุสนัย
  • พึงประกอบหาระ ๑๖ ก่อนแล้วแสดงนัย ๕
กลุ่ม ๑๒
  • กลุ่มศัพท์ ๖
  • กลุ่มอรรถ ๖
  • ฝ่ายอรรถ ๙
  • แบบแผน ๓๓ ประการ
☀ ๔. ปฏินิทเทสวาระ
ปฏินิทเทสวาระ (ปริจเฉทแสดงปฏินิเทศ)

๑. เทสนาหารวิภังค์ (รายละเอียดเทสนาหาระ)
คำเริ่มต้น 
ตัวอย่างอัสสาทะ
ตัวอย่างโทษ
ตัวอย่างนิสสรณะ
ตัวอย่างอัสสาทะ
ตัวอย่างโทษ
ตัวอย่างนิสสรณะ
ตัวอย่างจุดมุ่งหมาย
ตัวอย่างอุบาย
ตัวอย่างการชักชวน
ตัวอย่างอุบาย จุดมุ่งหมาย และการชักชวน
จําแนกเทสนาหาระตามบุคคล ๓
จําแนกบุคคล ๓ โดยปฏิปทา ๔
ประโยชน์ของสมถะและวิปัสสนา
ปัญญา ๓ ประเภท
ปัญญา ๓ ประเภท (อีกนัยหนึ่ง)
เวไนยชนผู้มีปัญญาแต่ละอย่าง
จําแนกอริยสัจ ๔ ตามหลักเทสนาหาระ
กลุ่มศัพท์ ๖ ใช้อธิบายกลุ่มอรรถ ๖
ความงาม ๓ ประการแห่งพระธรรมเทศนา
ความเพียบพร้อมด้วยอรรถและศัพท์แห่งพระธรรมเทศนา
ความหมายของ เกวลปริปุณฺณํ เป็นต้น
ค่าลงท้าย

๒. วิจยหารวิภังค์ (รายละเอียดวิจยหาระ)
คำเริ่มต้น
ตัวอย่าง ๑
ตัวอย่าง ๒
ตัวอย่าง ๓
ปฏิปทาแห่งการบรรลุความดับของรูปนาม
การละสังโยชน์ตามกำลังอินทรีย์
จำแนกรูปนามโดยอินทรีย์
การจําแนกสติและปัญญาโดยอินทรีย์
การเจริญอิทธิบาทอันประกอบด้วยสมาธิและสัมมัปปธาน
สมาธิทั้งปวงมีญาณเป็นเหตุ
ตัวอย่าง ๔
คำอธิบาย นิปโก
คำอธิบาย มนสานาวิโล
คำอธิบาย กุสโล สพฺพทธมฺมานํ
คำอธิบาย สโต ภิกฺขุ ปริพฺพเช
คำลงท้าย

๓. ยุตติหารวิภังค์ (รายละเอียดยุตติหาระ)
คำเริ่มต้น
ยุตติหาระในตัวอย่าง ๑
ยุตติหาระในการเกิดทุกข์และความเบื่อหน่าย
ยุค หาระในอสุภภาวนาเป็นต้น
ยุตติหาระในผลสมาบัติเป็นต้น
คำลงท้าย

๔. ปทัฏฐานหารวิภังค์ (รายละเอียดปทัฏฐานหาระ)
คำเริ่มต้น
ตัวอย่าง ๑
ตัวอย่าง ๒
ตัวอย่าง ๓
ตัวอย่าง ๔
ตัวอย่าง ๕
คำลงท้าย

๕. ลักขณหารวิภังค์ (รายละเอียดลักขณหาระ)
คำเริ่มต้น
ลักขณหาระของอายตนะภายใน ๖
ลักขณหาระของขันธ์ ๕
ลักขณหาระของโพธิปักขิยธรรม
ลักขณหาระของอกุศลธรรม
ลักขณหาระของอายตนะ ธาตุ และปฏิจจสมุปบาท
คำลงท้าย

๖. จตุพยูหหารวิภังค์ (รายละเอียดจตุพยูหหาระ)
คำเริ่มต้น
รูปวิเคราะห์
ความมุ่งหมาย
เหตุของการแสดงธรรม
การเชื่อมโยงพระสูตรหน้ากับพระสูตรหลัง
การเชื่อมโยงข้อความเป็นต้น ๔ ประการ
คำลงท้าย

๗. อาวัฏฏหารวิภังค์ (รายละเอียดอาวัฏฏหาระ)
คำเริ่มต้น
ตัวอย่างฝ่ายโวทาน
การแสดงปทัฏฐาน
การเวียนไปสู่ธรรมเสมอกันฝ่ายสังกิเลส
การเวียนไปสู่ธรรมไม่เสมอกันฝ่ายโวทาน
ตัวอย่างฝ่ายสังกิเลส ๑
ตัวอย่างฝ่ายสังกิเลสและฝ่ายโวทาน
การเวียนไปสู่ธรรมที่เสมอกันและธรรมที่ไม่เสมอกัน
ตัวอย่างฝ่ายโวทาน
การเวียนไปสู่ธรรมที่เสมอกันและธรรมที่ไม่เสมอกัน
การเวียนไปสู่ธรรมที่ตรงกันข้ามและธรรมที่เสมอกัน
คำลงท้าย

๘. วิภัตติหารวิภังค์ (รายละเอียดวิภัตติหาระ)
คำเริ่มต้น
การจำแนกสภาวธรรมเป็นวาสนาภาคิยสูตรและนิพเพธภาคิยสูตร
การจําแนกสภาวธรรมโดยทั่วไปและไม่ทั่วไป
การจําแนกภูมิและปทัฏฐานโดยทั่วไปและไม่ทั่วไป
คำลงท้าย

๙. ปริวัตตนหารวิภังค์ (รายละเอียดปริวัตตนหาระ)
คำเริ่มต้น
การเปลี่ยนไปหามิจฉาทิฏฐิซึ่งตรงกันข้ามกับสัมมาทิฏฐิ เป็นต้น
การเปลี่ยนไปหาการฆ่าสัตว์ซึ่งตรงกันข้ามกับการไม่ฆ่าสัตว์ เป็นต้น
การเปลี่ยนไปหามิจฉาทิฏฐิซึ่งตรงกันข้ามกับสัมมาทิฏฐิ เป็นต้น
การเปลี่ยนไปหาที่สุดสองอย่างซึ่งตรงกันข้ามกับทางสายกลาง
การเปลี่ยนไปหาสุภสัญญาซึ่งตรงกันข้ามกับอสุภสัญญา เป็นต้น
คำลงท้าย

๑๐. เววจนหารวิภังค์ (รายละเอียดเววจนหาระ)
คำเริ่มต้น
คําไวพจน์ของตัณหา
คำไวพจน์ของจิตเป็นต้น
คําไวพจน์โดยอรรถ
คําไวพจน์ของพุทธานุสสติ
คำไวพจน์ของธรรมานุสสติ
คําไวพจน์ของสังฆานุสสติ
คำไวพจน์ของสีลานุสสติ
คําไวพจน์ของจาคานุสสติ
คำลงท้าย

๑๑. ปัญญัตติหารวิภังค์ (รายละเอียดบัญญัตติหาระ)
คำเริ่มต้น
บัญญัติในสัจจะ ๔ โดยมีวัฏฏะเป็นหลัก
บัญญัติในสัจจะ ๔ โดยมีวิวัฏฏะเป็นหลัก
บัญญัติในสัจจะ ๔ โดยมีการหยั่งรู้เป็นหลัก
บัญญัติในสัจจะ ๔ โดยมีอุปาทานขันธ์เป็นหลัก
บัญญัติในสัจจะ ๔ โดยมีรอบ ๓ เป็นหลัก
อุทาหรณ์ของการแสดงบัญญัติในพระบาลี ๑
อุทาหรณ์ของการแสดงบัญญัติในพระบาลี ๒
อุทาหรณ์ของการแสดงบัญญัติในพระบาลี ๓
อุทาหรณ์ของการแสดงบัญญัติในพระบาลี ๔
คำลงท้าย

๑๒. โอตรณหารวิภังค์ (รายละเอียดโอตรณหาระ)
คำเริ่มต้น
ตัวอย่าง ๑
ตัวอย่าง ๒
ตัวอย่าง ๓
ตัวอย่าง ๔
คำลงท้าย

๑๓. โสธนหารวิภังค์ (รายละเอียดโสธนหาระ)
คำเริ่มต้น
ตัวอย่าง ๑
ตัวอย่าง ๒
ตัวอย่าง ๓
คำลงท้าย

๑๔. อธิฏฐานหารวิภังค์ (รายละเอียดอธิฏฐานหาระ)
คำเริ่มต้น
ตัวอย่าง ๑
ตัวอย่าง ๒
ตัวอย่าง ๓
ตัวอย่าง ๔
ตัวอย่าง ๕
ตัวอย่าง ๖
ตัวอย่าง ๗
ตัวอย่าง ๘
ตัวอย่าง ๙
ตัวอย่าง ๑๐
ตัวอย่าง ๑๑
ตัวอย่าง ๑๒
ตัวอย่าง ๑๓
ตัวอย่าง ๑๔
คำลงท้าย

๑๕. ปริกขารหารวิภังค์ (รายละเอียดปริกขารหาระ)
คำเริ่มต้น
ความหมายของเหตุและปัจจัย
ความเป็นเหตุและผลของกันและกัน
ตัวอย่างเหตุไม่เสมอกับผล
ตัวอย่างเหตุเสมอกับผล
คำลงท้าย

๑๖. สมาโรปนหารวิภังค์ (รายละเอียดสมาโรปนหาระ)
คำเริ่มต้น
การยกขึ้นแสดงด้วยปทัฏฐาน
การยกขึ้นแสดงด้วยคำไวพจน์
การยกขึ้นแสดงด้วยภาวนา
การยกขึ้นแสดงด้วยปหานะ
คำลงท้าย

☀ สัมปาตวาระ
๑ . เทสนาหารสัมปาตะ
๒. วิจยหารสัมปากะ
  • การจําแนกตัณหา
  • การบรรลุปัญญาวิมุตติโดยมีสมาธิเป็นหลัก
  • อรหัตตผลสมาธิประกอบด้วยปัจจเวกขณญาณ ๕
  • ปฏิปทาในการบรรลุจตุตถฌานสมาธิ
  • การจําแนกสมาธิโดยอารมณ์
  • ญาณที่ ๑ ฐานาฐานญาณ
  • ญาณที่ ๒ สัพพัตถคามินีปฏิปทาญาณ
  • ญาณที่ ๓ อเนกธาตุนานาธาตุญาณ
  • ญาณที่ ๔ นานาธิมุตติกตาญาณ
  • ญาณที่ ๕ วิปากเวมัตตตาญาณ
  • ญาณที่ ๖ สังกิเลสโวทานวุฏฐานญาณ
  • ญาณที่ ๗ อินทริยปโรปริยัตตเวมัตตตาญาณ
  • ญาณที่ ๘ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
  • ญาณที่ ๙ ทิพยจักษุญาณ
  • ญาณที่ ๑๐ อาสวักขยญาณ
๓. ยุตติหารสัมปาตะ
๔. ปทัฏฐานหารสัมปาตะ
๕. ลักขณหารสัมปาตะ
๖. จตุหยูหหารสัมปาตะ
๗. อาวัฏฏหารสัมปาตะ
๘. วิภัตติหารสัมปาตะ
๙. ปริวัตตนหารสัมปาตะ
๑๐. เววจนหารสัมปาตะ
๑๑. ปัญญัตติหารสัมปาตะ
๑๒. โอตรณหารสัมปาตะ
๑๓. โสธนหารสัมปาถะ
๑๔. อธิฏฐานหารสัมปาตะ
๑๕. ปริกขารหารสัมปาตะ
๑๖. สมาโรปนหารล้มปาตะ

☀ นยสมุฏฐาน
นยสมุฏฐาน (เหตุเกิดของนัย)
เหตุเกิดของนันทิยาวัฏฏนัย
เหตุเกิดของสีหวิกกีฬิตนัย
  • ธรรมหลักในฝ่ายสังกิเลส
  • การกำหนดอาหารเป็นต้นโดยความเป็นธรรมหลักในฝ่ายลังกิเลส
  • การจําแนกบุคคลผู้มีอุปกิเลส
  • ธรรมที่เป็นหลักสําคัญในฝ่ายโวทาน
  • การกำหนดปฏิปทาเป็นต้นโดยความเป็นธรรมหลักในฝ่ายโวทาน
  • การจําแนกโวทานในปฏิปทาจตุกกะเป็นต้นตามบุคคล
  • ความเป็นปฏิปักษ์ต่ออาหารเป็นต้นด้วยปฏิปทาเป็นต้น
เหตุเกิดของติปุกขลนัย

☀ สาสนปัฏฐาน
สาสนปัฏฐาน ๑๖ (สูตรแสดงคำสอน ๑๖)
วิสัยของวาสนาภาคิยสูตรเป็นต้น
ตัวอย่างสังกิเลสภาคิยสูตร ๑
ตัวอย่างสังกิเลสภาคิยสูตร ๒
ตัวอย่างสังกิเลสภาคิยสูตร ๓
ตัวอย่างสังกิเลสภาคิยสูตร ๔
ตัวอย่างสังกิเลสภาคิยสูตร ๕
ตัวอย่างสังกิเลสภาคิยสูตร ๖
ตัวอย่างสังกิเลสภาคิยสูตร ๗
ตัวอย่างสังกิเลสภาคิยสูตร ๘
ตัวอย่างสังกิเลสภาคิยสูตร ๙
ตัวอย่างสังกิเลสภาคิยสูตร ๑๐
ตัวอย่างสังกิเลสภาคิยสูตร ๑๐
ตัวอย่างวาสนาภาคิยสูตร ๑
ตัวอย่างวาสนาภาคิยสูตร ๒
ตัวอย่างวาสนาภาคิยสูตร ๓
ตัวอย่างวาสนาภาคิยสูตร ๔
ตัวอย่างวาสนาภาคิยสูตร ๕
ตัวอย่างวาสนาภาคิยสูตร ๖
ตัวอย่างวาสนาภาคิยสูตร ๗
ตัวอย่างวาสนาภาคิยสูตร ๘
ตัวอย่างวาสนาภาคิยสูตร ๙
ตัวอย่างวาสนาภาคิยสูตร ๑๐
ตัวอย่างวาสนาภาคิยสูตร ๑๑
ตัวอย่างวาสนาภาคิยสูตร ๑๒
ตัวอย่างวาสนาภาคิยสูตร ๑๓
ตัวอย่างวาสนาภาคิยสูตร ๑๔
ตัวอย่างวาสนาภาคิยสูตร ๑๕
ตัวอย่างนิพเพธภาคิยสูตร ๑
ตัวอย่างนิพเพธภาคิยสูตร ๒
ตัวอย่างนิพเพธภาคิยสูตร ๓
ตัวอย่างนิพเพธภาคิยสูตร ๔
ตัวอย่างนิพเพธภาคิยสูตร ๕
ตัวอย่างนิพเพธภาคิยสูตร ๖
ตัวอย่างนิพเพธภาคิยสูตร ๗
ตัวอย่างนิพเพธภาคิยสูตร ๘
ตัวอย่างนิพเพธภาคิยสูตร ๙
ตัวอย่างนิพเพธภาคิยสูตร ๑๐
ตัวอย่างนิพเพธภาคิยสูตร ๑๑
ตัวอย่างนิพเพธภาคิยสูตร ๑๒
ตัวอย่างนิพเพธภาคิยสูตร ๑๓
ตัวอย่างนิพเพธภาคิยสูตร ๑๔
ตัวอย่างนิพเพธภาคิยสูตร ๑๕
ตัวอย่างนิพเพธภาคิยสูตร ๑๖
ตัวอย่างนิพเพธภาคิยสูตร ๑๗
ตัวอย่างนิพเพธภาคิยสูตร ๑๘
ตัวอย่างอเสกขภาคิยสูตร ๑
ตัวอย่างอเสกขภาคิยสูตร ๒
ตัวอย่างอเสกขภาคิยสูตร ๓
ตัวอย่างอเสกขภาคิยสูตร ๔
ตัวอย่างอเสกขภาคิยสูตร ๕
ตัวอย่างอเสกขภาคิยสูตร ๖
ตัวอย่างอเสกขภาคิยสูตร ๗
ตัวอย่างอเสกขภาคิยสูตร ๘
ตัวอย่างอเสกขภาคิยสูตร ๙
ตัวอย่างอเสกขภาคิยสูตร ๑๐
ตัวอย่างอเสกขภาคิยสูตร ๑๑
ตัวอย่างอเสกขภาคิยสูตร ๑๒
ตัวอย่างอเสกขภาคิยสูตร ๑๓
ตัวอย่างอเสกขภาคิยสูตร ๑๔
ตัวอย่างสังกิเลสภาคิยสูตร และวาสนาภาคิยสูตร ๑
ตัวอย่างสังกิเลสภาคิยสูตร และวาสนาภาคิยสูตร ๒
ตัวอย่างสังกิเลสภาคิยสูตร และนิพเพธภาคิยสูตร ๑
ตัวอย่างสังกิเลสภาคิยสูตร และนิพเพธภาคิยสูตร ๒
ตัวอย่างสังกิเลสภาคิยสูตร และอเสกขภาคิยสูตร ๑
ตัวอย่างสังกิเลสภาคิยสูตร และอเสกขภาคิยสูตร ๒
ตัวอย่างสังกิเลสภาคิยสูตร นิพเพธภาคิยสูตร และอเสกขภาคิยสูตร ๑
ตัวอย่างสังกิเลสภาคิยสูตร นิพเพธภาคิยสูตร และอเสกขภาคิยสูตร ๒
ตัวอย่างสังกิเลสภายสูตร วาสนาภาคี สูตร และนิพเพธภาคี สูตร ๑
ตัวอย่างสังกิเลสภาคิยสูตร วาสนาภาคี สูตร และนิพเพธภาคี สูตร ๒
ตัวอย่างวาสนาภาคิยสูตร และนิพเพธภาคิยสูตร ๑
ตัวอย่างวาสนาภาคิยสูตร และนิพเพธภาคิยสูตร ๒
ตัวอย่างวาสนาภาคิยสูตร และนิพเพธภาคิยสูตร ๓
ธรรมที่พึงแสดงด้วยสังกิเลสภาคิยสูตรเป็นต้น

☀ สาสนปัฏฐาน ๒๘ (สูตรแสดงคำสอน ๒๘)
ตัวอย่างโลกิยะ ๑
ตัวอย่างโลกิยะ ๒
ตัวอย่างโลกิยะ ๓
ตัวอย่างโลกุตตระ ๑
ตัวอย่างโลกุตตระ ๒
ตัวอย่างโลกิยะและโลกุตตระ ๑
ตัวอย่างโลกิยะและโลกุตตระ ๒
ตัวอย่างสัตตาธิฏฐาน ๑
ตัวอย่างสัตตาธิฏฐาน ๒
ตัวอย่างสัตตาธิฏฐาน ๓
ตัวอย่างธรรมาธิฎฐาน ๑
ตัวอย่างธรรมาธิฏฐาน ๒
ตัวอย่างสัตตาธิฏฐานและธรรมาธิฏฐาน ๑
ตัวอย่างสัตตาธิฏฐานและธรรมาธิฏฐาน ๒
ตัวอย่างญาณ ๑
ตัวอย่างญาณ ๒
ตัวอย่างเญยยะ ๑
ตัวอย่างเญยยะ ๒
ตัวอย่างญาณะและเญยยะ ๑
ตัวอย่างญาณะและเญยยะ ๒
ตัวอย่างญาณะและเญยยะ ๓
ตัวอย่างญาณะและเญยยะ ๔
ตัวอย่างญาณะและเญยยะ ๕
ตัวอย่างทัสสนะ ๑
ตัวอย่างทัสสนะ ๒
ตัวอย่างทัสสนะ ๓
ตัวอย่างภาวนา ๑
ตัวอย่างภาวนา ๒
ตัวอย่างทัสสนะและภาวนา ๑
ตัวอย่างทัสสนะและภาวนา ๒
ตัวอย่างสกวจนะ ๑
ตัวอย่างสกวจนะ ๒
ตัวอย่างปรวจนะ ๑
ตัวอย่างปรวจนะ ๒
ตัวอย่างสกวจนะและปรวจนะ ๑
ตัวอย่างสกวจนะและปรวจนะ ๒
ตัวอย่างวิสัชชนียะ
ตัวอย่างอวิสัชชนียะ ๑
ตัวอย่างอวิสัชชนียะ ๒
ตัวอย่างอวิสัชชนียะ ๓
ตัวอย่างอวิสัชชนียะ ๔
ตัวอย่างวิสัชชนียะและอวิสัชชนียะ ๑
ตัวอย่างวิสัชชนียะและอวิสัชชนียะ ๒
ตัวอย่างวิสัชชนียะและอวิสัชชนียะ ๓
ตัวอย่างวิสัชชนียะและอวิสัชชนียะ ๔
ตัวอย่างกรรม ๑
ตัวอย่างกรรม ๒
ตัวอย่างกรรม ๓
ตัวอย่างวิบาก ๑
ตัวอย่างวิบาก ๒
ตัวอย่างกรรมและวิบาก ๑
ตัวอย่างกรรมและวิบาก ๒
ตัวอย่างกรรมและวิบาก ๓
ตัวอย่างกุศล ๑
ตัวอย่างกุศล ๒
ตัวอย่างกุศล ๓
ตัวอย่างกุศล ๔
ตัวอย่างอกุศล ๑
ตัวอย่างอกุศล ๒
ตัวอย่างอกุศล ๓
ตัวอย่างอกุศล ๔
ตัวอย่างกุศลและอกุศล ๑
ตัวอย่างกุศลและอกุศล ๒
ตัวอย่างอนุญญาตะ ๑
ตัวอย่างอนุญญาตะ ๒
ตัวอย่างอนุญญาตะ ๓
ตัวอย่างอนุญญาตะ ๔
ตัวอย่างปฏิกขิตตะ ๑
ตัวอย่างปฏิกขิตตะ ๒
ตัวอย่างอนุญญาตะและปฏิกขิตตะ ๑
ตัวอย่างอนุญญาตะและปฏิกขิตตะ ๒
ตัวอย่างอนุญญาตะและปฏิกขิตตะ ๓
ตัวอย่างถวะ ๑
ตัวอย่างถวะ ๒
ตัวอย่างถวะ ๓
การระคนกันแห่งสาสนปัฏฐาน ๑๖ กับสาสนปัฏฐาน ๒๘
คำลงท้ายสาสนปัฏฐาน
คำลงท้ายคัมภีร์



🌀 คัมภีร์เนติปกรณ์ เรียบเรียงตามเทศนาธรรมของ พระอาจารย์ สมบัติ นันทิโก

คำนอบน้อมพระพุทธเจ้า
๑. 
สังคหวาระ คือการสรุปใจความของคัมภีร์ (คำนำ)
๒. อุทเทสวาระ คือหัวข้อของเนื้อหาโดยสรุป (สารบัญ)
๓. นิทเทสวาระ คือการขยายพุทธพจน์ แต่ขยายแบบย่อ
๔. ปฏินิทเทสวาระ 
คือการขยายพุทธพจน์ แต่
ขยายแบบพิสดาร

วิกิ

ผลการค้นหา