พุทธธรรม



🔘พุทธธรรม (อย่างย่อ)
ภาค ๑ มัชเฌนธรรมเทศนา (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ) หลักความจริงที่เป็นกลางตามธรรมชาติ หรือ ธรรมที่เป็นกลาง ว่าด้วยความจริงตามแนวของเหตุผลบริสุทธิ์ตามกระบวนการของธรรมชาติ นำมาแสดงเพื่อประโยชน์ในทางปฏิบัติในชีวิตจริงเท่านั้น ไม่ส่งเสริมการเข้าถึงสัจธรรมด้วยวิธีถกเถียงสร้างทฤษฎีต่างๆ และการเก็งความจริงทางปรัชญา

๑ . มัชเฌนธรรมเทศนา (ภาคแสดงหลักการ)
๑.๑ มัชเฌนธรรมเทศนา
๑.๒ ขันธ์ ๕
๑.๓ อายตนะ ๖ และวิธีปฏิบัติต่อทุกข์-สุข ๔
๑.๔ สัจจะ ๒ ระดับ
๑.๕ ไตรลักษณ์
๑.๖ ประมวลความหมายของอนัตตา
๑.๗ ปฏิจจสมุปบาท
๑.๘ ธรรมนิยาม
๑.๙ กิเลส
๑.๑๐ กรรม
๑.๑๑ กรรม ๑๒
๑.๑๒ แก้กรรม ด้วยปฏิกรรม
๑.๑๓ นิพพาน : ประโยชน์สูงสุดที่มนุษย์ควรจะได้จากชีวิตนี้
๑.๑๔ ภาวะแห่งนิพพาน
๑.๑๕ ลักษณะของพระอรหันต์ผู้เข้าถึงนิพพาน (ภาวิต ๔)
๑.๑๖ ความพร้อมที่จะมีความสุข
๑.๑๗ วิมุตติ ๕
๑.๑๘ ความเข้าใจสับสนเกี่ยวกับนิพพาน
๑.๑๙ นิพพาน มีอัตตาไหม เป็นอัตตาไหม?
๑.๒๐ พระอริยบุคคล
๑.๒๑ สังโยชน์ ๑๐
๑.๒๒ พระอริยบุคคล ๗ (ทักขิไฌยบุคคล ๗)
๑.๒๓ โสดาปัตติยังคะ ๔
๑.๒๔ สำนวนแสดงความแตกต่างระหว่างพระอริยบุคคลแต่ละระดับ
๑.๒๕ หลักการบรรลุนิพพาน
๑.๒๖ ปริญญา
๑.๒๗ หลักวิปัสสนาบางส่วนจากพระไตรปิฎก
๑.๒๘ วิสุทธิ ๗
๑.๒๙ ความเข้าใจเรื่องจิตตามหลักพระพุทธศาสนา
๑.๓๐ ตัวอย่างกระบวนการของจิตแบบ “อติมหันตารมณ์”
๑.๓๑ ประเด็นเรื่องจิตเดิมแท้

ภาค ๒ มัชฌิมาปฏิปทา (มรรค) ข้อปฏิบัติที่เป็นกลางตามธรรมชาติ หรือ ทางสายกลาง เป็นภาคปฏิบัติอันเป็นหลักการครองชีวิตของผู้ฝึกอบรมตน ผู้รู้เท่าทันชีวิต ไม่หลงงมงาย มุ่งผลสำเร็จคือ ความสุข สะอาด สว่าง สงบ เป็นอิสระ ที่สามารถมองเห็นได้ในชีวิตนี้ ทางสายกลางนั้น มิใช่หมายถึงอยู่กึ่งกลางระหว่าง ที่สุดทั้ง ๒ ทาง หรือกึ่งกลางของทางหลายๆทาง แต่หมายถึง ความมีเป้าหมายที่แน่ชัด แล้วกระทำตรงจุด พอเหมาะพอดีจะให้ผลสำเร็จตามเป้าหมายนั้น ไม่เขวออกไปเสีย ทางสายกลางนี้ถ้าไม่เริ่มต้นด้วยสัมมาทิฏฐิ ก็ไม่มีมัชฌิมาปฏิปทา ถ้าไม่ดำเนินตามมัชฌิมาปฏิปทา ก็แก้ปัญหาดับทุกข์ไม่สำเร็จ

๒. มัชฌิมาปฏิปทา (ภาคปฏิบัติ)
๒.๑ มัชฌิมาปฏิปทา (มรรค ๘)
๒.๒ บุพนิมิตแห่งมรรค
๒.๓ ธรรมานุธรรมปฏิบัติ
๒.๔ การมองโลกตามความเป็นจริง
๒.๕ มรรค ๘ : ทางแห่งการเป็นอยู่ด้วยปัญญา
        ๒.๕.๑ หมวดปัญญา : สัมมาทิฏฐิ, สัมมาสังกัปปะ
        ๒.๕.๒ หมวดศีล : สัมมาวาจา, สัมมากัมมันตะ, สัมมาอาชีวะ
        ๒.๕.๓ หมวดสมาธิ : สัมมาวายามะ, สัมมาสติ, สัมมาสมาธิ
                ๒.๕.๓.๑ ระดับของสมาธิ
                ๒.๕.๓.๒ วิธีเจริญสมาธิโดยใช้กรรมฐาน : อานาปานสติ /โอทาตกสิณ / อัปปมัญญา ๔
                ๒.๕.๓.๓ ประโยชน์ของสมาธิ
                ๒.๕.๓.๔ สติปัฏฐาน ๔
๒.๖ ถ้าปฏิบัติธรรมถูกทาง ต้องได้ปราโมทย์
๒.๗ ความไม่ประมาท
๒.๘ อริยสัจ ๔ : ความจริงอันประเสริฐ, สัจจะอย่างอริยะ

ภาค ๓ 
วิถีชีวิตของคนมีอารยธรรม

๓. อารยธรรมวิถี
๓.๑ อารยธรรมวิถี (วิถีชีวิตของคนมีอารยธรรม)
๓.๒ ความสุข และปัญหาเกี่ยวกับแรงจูงใจ
๓.๓ ความหมายของ ศีล วินัย สิกขาบท พรต วัตร ตบะ
๓.๔ พุทธศาสนา คือ ระบบการพัฒนาความสุข
๓.๕ ระดับขั้นของความสุข
๓.๖ ข้อเสีย หรือจุดบกพร่องของกามสุข
๓.๗ ข้อบกพร่องของฌานสุข
๓.๘ นิพพานสุข และบทลงท้าย












🔘พุทธธรรม (ปรับขยาย)
ภาค ๑ มัชเฌนธรรมเทศนา
🙏 ตอน ๑: ชีวิต คืออะไร?

🔅 บทที่ ๑ ขันธ์ ๕
บันทึกพิเศษท้ายบท
🔅 บทที่ ๒ อายตนะ ๖
ประเภทของความรู้
ความถูกต้องและผิดพลาดของความรู้
บันทึกพิเศษท้ายบท

🙏 ตอน ๒: ชีวิต เป็นอย่างไร?

🔅 บทที่ ๓ ไตรลักษณ์
คำอธิบายไตรลักษณ์ตามหลักวิชาในคัมภีร์
๑. ความเข้าใจเกี่ยวกับศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
วิเคราะห์ความหมายของไตรลักษณ์
                พิเศษ: ทุกข์ในอริยสัจ แยกให้ชัด จากทุกข์ในไตรลักษณ์
                    (ก) หมวดใหญ่ของทุกข์ 
                ชุดที่ ๑ ทุกข์ ๑๒
                ชุดที่ ๒ ทุกข์ ๒
                ชุดที่ ๓ ทุกข์ ๒
                ก) ขอบเขตความหมาย
                ข) ความหมายพื้นฐาน
                ค) ความหมายที่ไม่ต้องอธิบาย
                ง) ความหมายที่อธิบายทั่วไป
                อัตตา กับ มานะ
        คุณค่าทางจริยธรรม
            จ. คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์ตามลำดับข้อ
                ๑. อนิจจตา
                ๒. ทุกขตา
                ๓. อนัตตตา

🙏 ตอน ๓: ชีวิต เป็นไปอย่างไร?

🔅 บทที่ ๔ ปฏิจจสมุปบาท
    ตัวกฎหรือตัวสภาวะ
    ๕. คำอธิบายตามแบบ
        ก. หัวข้อและโครงรูป
        ข. คำจำกัดความองค์ประกอบ หรือหัวข้อ ตามลำดับ
        ค. ตัวอย่างคำอธิบายแบบช่วงกว้างที่สุด
    ๖. ความหมายในชีวิตประจำวัน
        ความหมายเชิงอธิบาย
        คำอธิบายแสดงความสัมพันธ์อย่างง่าย
        คำอธิบายแสดงความสัมพันธ์เชิงขยายความ
        ตัวอย่างกรณีปลีกย่อยในชีวิตประจำวัน
    ความหมายลึกลงไปขององค์ธรรมบางข้อ
    ปฏิจจสมุปบาท ในฐานะมัชเฌนธรรมเทศนา
    ปฏิจจสมุปบาท ในฐานะปัจจยาการทางสังคม
    หมายเหตุ: การตีความเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท
บันทึกพิเศษท้ายบท
    บันทึกที่ ๑: ธรรมนิยาม ๑ และ ธรรมนิยาม ๓
    บันทึกที่ ๒: ตัวเรา ของเรา ตัวกู ของกู
    บันทึกที่ ๓: เกิดและตายแบบปัจจุบัน
    บันทึกที่ ๔ ปฏิจจสมุปบาทแนวอภิธรรม
    บันทึกที่ ๕: ปัญหาการแปลคำว่า “นิโรธ”
    บันทึกที่ ๖: ความหมายย่อขององค์ธรรม ในปฏิจจสมุปบาท
    บันทึกที่ ๗: ความหมายของภวตัณหา และวิภวตัณหา

🔅 บทที่ ๕ กรรม
    ความนำ
    ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับกรรม
        ก. กรรม ในฐานะกฎธรรมชาติอย่างหนึ่ง
        ข. ความหมายของกรรม
        ค. ประเภทของกรรม
    เกณฑ์ตัดสิน ความดีความชั่ว
        ก) ปัญหาเกี่ยวกับความดีความชั่ว
        ข) ความหมายของกุศลและอกุศล
        ค) ข้อควรทราบพิเศษบางอย่างเกี่ยวกับกุศลและอกุศล
            ๑) กุศลและอกุศล เป็นปัจจัยแก่กันได้
            ๒) บุญและบาป กับ กุศลและอกุศล
        ง) เกณฑ์วินิจฉัยกรรมดี - กรรมชั่ว
        จ) หลักคำสอนเพื่อเป็นเกณฑ์วินิจฉัย
    การให้ผลของกรรม
        ก) ผลกรรมในระดับต่างๆ
        ข) องค์ประกอบที่ส่งเสริมและขัดขวางการให้ผลของกรรม
        ค) ผลกรรมในช่วงกว้างไกล
        ง) ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการพิสูจน์เรื่องตายแล้วเกิดหรือไม่
        จ) ข้อสรุป: การพิสูจน์และท่าที่ปฏิบัติต่อเรื่องชาติหน้า
        ฉ) ผลกรรมตามนัยแห่งจุฬกรรมวิภังคสูตร
    ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป เพื่อความเข้าใจหลักกรรมให้ชัดเจน
        ๑) สุขทุกข์ ใครทำให้
        ๒) เชื่ออย่างไร ผิดหลักกรรม?
        ๓) กรรม ชำระล้างได้อย่างไร?
        ๔) แก้กรรม ด้วยปฏิกรรม
        ๕) กรรม ที่ทำให้สิ้นกรรม
        ๖) กรรม ในระดับสังคม หรือกรรมของสังคม มีหรือไม่?
        ๗) กรรม ตามสมมตินิยาม หรือ กรรม ในกฎมนุษย์
        ๘) กรรมกับอนัตตา ขัดกันหรือไม่?
    คุณค่าทางจริยธรรม
    ความหมายทั่วไป
    ความเป็นคนมีเหตุผล ไม่เชื่อถืองมงาย
    การลงมือทำ ไม่รอคอยความหวังจากการอ้อนวอนปรารถนา
    การไม่ถือชาติชั้นวรรณะ ถือความประพฤติเป็นประมาณ
    การพึ่งตนเอง
    ข้อเตือนใจเพื่ออนาคต
บันทึกพิเศษท้ายบท
    บันทึกที่ ๑: กรรม ๑๒

🙏 ตอน ๔: ชีวิต ควรให้เป็นอย่างไร?

🔅 บทที่ ๖ วิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันติ นิพพาน
    ความสุขที่ไม่ต้องหา
    กระบวนธรรมดับทุกข์ หรือ ปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร
        ก. วงจรยาว
        ข. วงจรสั่น
    ภาวะแห่งนิพพาน
    คำแสดงคุณลักษณะของนิพพาน
    ข้อความบรรยายภาวะของนิพพาน
    ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน
        ๑. ภาวิตกาย: มีกายที่ได้พัฒนาแล้ว
        ๒. ภาวิตศีล: มีศีลที่ได้พัฒนาแล้ว
        ๓. ภาวิตจิต: มีจิตที่ได้พัฒนาแล้ว
        ๔. ภาวิตปัญญา: มีปัญญาที่ได้พัฒนาแล้ว
บันทึกพิเศษท้ายบท
    บันทึกที่ ๑: ภาวิต ๔ โยงไปหา ภาวนา ๔

🔅 บทที่ ๗ ประเภทและระดับ แห่งนิพพานและผู้บรรลุนิพพาน
    ๑. ประเภทและระดับของนิพพาน
        ประเภทของนิพพาน
            ก) ลักษณะภายนอกและชีวิตหมู่
            ข) ความมีใจอิสระและมีความสุข
            ค) ความเป็นเจ้าแห่งจิต เป็นนายของความคิด
            ง) ความเป็นกันเอง กับชีวิต ความตาย การพลัดพราก และมีเมตตากรุณาต่อทุกชีวิต
        ขั้นตอนหรือระดับแห่งการเข้าถึงนิพพาน
    ๒. ประเภทและระดับของผู้บรรลุนิพพาน
        แบบที่ ๑ ทักขิไณยบุคคล ๘ หรือ อริยบุคคล ๘
        แบบที่ ๒ ทักขิไณยบุคคล ๗ หรือ อริยบุคคล ๗
         ก. พระเสขะ หรือ สอุปาทิเสสบุคคล
         ข. พระอเสขะ หรือ อนุปาทิเสสบุคคล
         ประเภทของพระอรหันต์
บันทึกพิเศษท้ายบท
    บันทึกที่ ๑. เรื่อง สอุปาทิเสส และ อนุปาทิเสส
    บันทึกที่ ๒: เรื่องความหมายของ ทิฏฐธัมมิกะ และ สัมปรายิกะ
    บันทึกที่ ๓เรื่องจริมจิต
    บันทึกที่ ๔: เรื่อง สีลัพพตปรามาส
    บันทึกที่ ๕. ความหมายของ ฌาน

🔅 บทที่ ๘ ข้อควรทราบเพิ่มเติม เพื่อเสริมความเข้าใจ
    ๑. สมถะ - วิปัสสนา
    ๒. เจโตวิมุตติ – ปัญญาวิมุตติ
บันทึกพิเศษท้ายบท
    บันทึกที่ ๑. ความเข้าใจสับสนเกี่ยวกับอนัตตา และนิพพาน

🔅 บทที่ ๙ หลักการสำคัญ ของการบรรลุนิพพาน
    ความเบื้องต้น
    ก) หลักทั่วไป
    ข) หลักสมถะที่เป็นฐาน
    ค) หลักวิปัสสนาที่เป็นมาตรฐาน
        สำนวนสามัญ: พิจารณาขันธ์ ๕
        สำนวนสามัญ: พิจารณาอายตนะ และธรรมอื่นที่เกี่ยวเนื่อง
        สำนวนแบบสืบค้น
        ตัวอย่างธรรมที่พิจารณาได้ทุกระดับ
        สำนวนแนววิปัสสนา แสดงความแตกต่างระหว่างพระอริยบุคคลหลายระดับ
        ก.พระเสขะ กับ พระอรหันต์
        ข. ผู้ปฏิบัติเพื่อโสดาปัตติผล กับ พระโสดาบัน
        ค.พระโสดาบัน กับ พระอรหันต์
        ง. พระอนาคามี กับ พระอรหันต์
        จ.พระอรหันต์ปัญญาวิมุต กับ พระอรหันต์อุภโตภาควิมุต
        ฉ.พระพุทธเจ้า กับ พระปัญญาวิมุต
    ง) หลักการปฏิบัติที่จัดเป็นระบบ
    หลักการปฏิบัติตามนัยแห่งคัมภีร์วิสุทธิมัคค์
        ก. ระดับศีล (อธิศีลสิกขา)
        ข. ระดับสมาธิ (อธิจิตตสิกขา)
        ค. ระดับปัญญา (อธิปัญญาสิกขา)
            ๑) ญาตปริญญา คือ รู้จักสภาวะ
            ๒) ตีรณปริญญา คือ รู้สามัญลักษณะ หรือหยั่งถึงไตรลักษณ์
            ๓) ปหานปริญญา คือ รู้ถึงขั้นละความหลงผิด ถอนตัวเป็นอิสระได้
บันทึกพิเศษท้ายบท
    บันทึกที่ ๑. คำว่า “บรรลุนิพพาน”
    บันทึกที่ ๒: ในฌาน เจริญวิปัสสนา หรือบรรลุมรรคผล ได้หรือไม่ ?
    บันทึกที่ ๓: เนวสัญญานาสัญญายตนะ ใช้ทำวิปัสสนาไม่ได้ ?
    บันทึกที่ ๔: ขณะจิตที่บรรลุมรรคผล

🔅 บทที่ ๑๐ บทสรุป เรื่องเกี่ยวกับนิพพาน
    คุณค่าและลักษณะพิเศษที่พึงสังเกตเกี่ยวกับนิพพาน
        ๑. จุดหมายสูงสุดของชีวิต เป็นสิ่งที่อาจบรรลุได้ในชาตินี้
        ๒. นิพพานเป็นจุดหมายที่ทุกคนเข้าถึงได้ ไม่จำกัดชาติชั้น หญิงชาย
        ๓. นิพพานอำนวยผล ที่ยิ่งกว่าลำพังความสำเร็จทางจิตจะให้ได้
    จุดที่มักเขวหรือเข้าใจพลาด เกี่ยวกับนิพพาน
        ๑. ความยึดมั่นในความไม่ยึดมั่น
        ๒. ลักษณะที่ชวนให้สับสน หรือหลงเข้าใจผิด
        ๓. ความสุข กับความพร้อมที่จะมีความสุข
    ปัญหาสำคัญเกี่ยวกับนิพพาน
        ๑. นิพพาน กับอัตตา
        ๒. พระอรหันต์ สิ้นชีวิตแล้วเป็นอย่างไร?

ภาค ๒ มัชฌิมาปฏิปทา
🙏 ตอน ๕: ชีวิต ควรเป็นอยู่อย่างไร?

🔅 บทที่ ๑๑ บทนำ ของมัชฌิมาปฏิปทา
    มัชฌิมาปฏิปทา ต่อเนื่องจาก มัชเฌนธรรมเทศนา
    สมุทัย - นิโรธ
    นิโรธ - มรรค
    มิจฉาปฏิปทา - สัมมาปฏิปทา
    อาหารของอวิชชา - อาหารของวิชชาและวิมุตติ
    ปฏิจจสมุปบาท นิโรธวาร - มัชฌิมาปฏิปทา/มรรค
    โยนิโสมนสิการ/ศรัทธา/กุศลศีล → ปราโมทย์  ขยญาณ
    ธรรมเป็นอาหารอุดหนุนกัน
    พรหมจรรย์ที่สำเร็จผล
    วิสุทธิ ๗
    จรณะ ๑๕ + วิชชา ๓
    อนุบุพพสิกขา หรือ อนุบุพพปฏิปทา
    ธรรมจริยา
    ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับมัชฌิมาปฏิปทา
        มรรค ในฐานะมัชฌิมาปฏิปทา
        มรรค ในฐานะข้อปฏิบัติ หรือทางชีวิต ทั้งของบรรพชิตและคฤหัสถ์
        มรรค ในฐานะหลักปฏิบัติที่เนื่องด้วยสังคม
        มรรค ในฐานะทางให้ถึงความสิ้นกรรม
        มรรค ในฐานะอุปกรณ์สำหรับใช้ มิใช่สำหรับยึดถือหรือแบกโก้ไว้
        มรรค ในฐานะพรหมจรรย์ หรือพุทธจริยธรรม
        มรรค ในฐานะมรรคาสู่จุดหมายขั้นต่างๆ ของชีวิต
            อัตถะ ๓ แนวตั้ง
            บุญกิริยาวัตถุ
            อัตถะ ๓ แนวนอน
        มรรค ในฐานะไตรสิกขา หรือระบบการศึกษาสำหรับสร้างอารยชน
    อริยมรรค กับไตรสิกขา
    จากมรรคมีองค์ ๘ สู่สิกขา
    ชาวบ้าน ดำเนินมรรคาด้วยการศึกษาบุญ
    กระบวนธรรมในตัวคน ของมรรค กับกระบวนการฝึกคน ของสิกขา
    จุดเริ่ม พัฒนาเป็นจุดสำเร็จ แห่งความก้าวหน้าในมรรคา
บันทึกพิเศษท้ายบท
    บันทึกที่ ๑: การจัดธรรมจริยาเข้าในไตรสิกขา
    บันทึกที่ ๒: การเรียกชื่อศีล ๕ และธรรมจริยา ๑๐
    บันทึกที่ ๓: ความหมายของคำว่าศีลธรรม
    บันทึกที่ ๔: ความหมายตามแบบแผน ของไตรสิกขา

🔅 บทที่ ๑๒ บุพภาคของการศึกษา ๑ ปรโตโฆสะที่ดี = กัลยาณมิตร
    บุพภาคของการศึกษา หรือ บุพนิมิตแห่งมัชฌิมาปฏิปทา
    ปัจจัยแห่งสัมมาทิฏฐิ ๒
    บุพนิมิตที่ ๑: ปรโตโฆสะ กัลยาณมิตร (วิธีการแห่งศรัทธา)
    ความสำคัญของการมีกัลยาณมิตร
    คุณสมบัติของกัลยาณมิตร
    การทำหน้าที่ของกัลยาณมิตร
    หลักศรัทธาโดยสรุป
    พุทธพจน์แสดงหลักศรัทธา
บันทึกพิเศษท้ายบท
    บันทึกที่ ๑: ความสำคัญของสังคหวัตถุ ๔
    บันทึกที่ ๒: การแปลบาลีในกาลามสูตร

🔅 บทที่ ๑๓ บุพภาคของการศึกษา ๒: โยนิโสมนสิการ
    ความนำ
    ฐานะของความคิด ในระบบการดำเนินชีวิตที่ดี
    ฐานะของความคิด ในกระบวนการของการศึกษา หรือการพัฒนาปัญญา
        ก) จุดเริ่มของการศึกษา และความไร้การศึกษา
        ข) กระบวนการของการศึกษา
        ค) ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับจุดเริ่มต้นของการศึกษา
        ง) ความคิดที่ไม่เป็นการศึกษา และความคิดที่เป็นการศึกษา
    บุพนิมิตที่ ๒: โยนิโสมนสิการ (วิธีการแห่งปัญญา)
    ความสำคัญของโยนิโสมนสิการ
    ความหมายของโยนิโสมนสิการ
    วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ
    ๑. วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย
    ๒. วิธีคิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ
    ๓. วิธีคิดแบบสามัญลักษณ์
    ๔. วิธีคิดแบบอริยสัจ/คิดแบบแก้ปัญหา
    ๕. วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์
    ๖. วิธีคิดแบบรู้ทันคุณโทษและทางออก
    ๗. วิธีคิดแบบคุณค่าแท้-คุณค่าเทียม
    ๘. วิธีคิดแบบเร้ากุศล
    ๙. วิธีคิดแบบอยู่กับปัจจุบัน
    ๑๐. วิธีคิดแบบวิภัชชวาท
        ก. จำแนกโดยแง่ด้านของความจริง
        ข. จำแนกโดยส่วนประกอบ
        ค. จำแนกโดยลำดับขณะ
        ง. จำแนกโดยความสัมพันธ์แห่งเหตุปัจจัย
        จ. จำแนกโดยเงื่อนไข
        ฉ. จำแนกโดยทางเลือก หรือความเป็นไปได้อย่างอื่น
        ช. วิภัชชวาทในฐานะวิธีตอบปัญหาอย่างหนึ่ง
    สรุปความ เพื่อนำสู่การปฏิบัติ
    เตรียมเข้าสู่มัชฌิมาปฏิปทา
    พระรัตนตรัย ในฐานะเครื่องนำเข้าสู่มรรคฯ
บันทึกพิเศษท้ายบท
    บันทึกที่ ๑: วิธีคิดแบบแก้ปัญหา: วิธีคิดแบบอริยสัจ กับ วิธีคิดแบบวิทยาศาสตร์

🔅 บทที่ ๑๔ องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา ๑: หมวดปัญญา
    ๑. สัมมาทิฏฐิ
        ความสำคัญของสัมมาทิฏฐิ
        คำจำกัดความของสัมมาทิฏฐิ
        ข้อควรทราบทั่วไปเกี่ยวกับสัมมาทิฏฐิ
        สัมมาทิฏฐิ กับการศึกษา
    ๒. สัมมาสังกัปปะ

🔅 บทที่ ๑๕ องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา ๒: หมวดศีล
    ๓. สัมมาวาจา ๔. สัมมากัมมันตะ ๕. สัมมาอาชีวะ
    ศีล ในความหมายที่เป็นหลักกลาง อันพึงถือเป็นหลักความประพฤติพื้นฐาน
    ลักษณะของศีล หรือหลักความประพฤติเบื้องต้น แบบเทวนิยม กับแบบสภาวนิยม
    ศีลสำหรับประชาชน
    ความเข้าใจพื้นฐาน
        ก. ศีลพื้นฐาน
        ข. ศีลเพื่อเสริมความงามของชีวิตและสังคม
    หลักการทั่วไปเกี่ยวกับสัมมาอาชีวะ
    เศรษฐกิจจะดี ถ้ามีศีล
    (พุทธพจน์เกี่ยวกับอาชีวะ)
        ก. การแสวงหา และการรักษาทรัพย์
        ข. ความสุขอันชอบธรรมที่คฤหัสถ์ควรมี
        ค. การใช้จ่ายทรัพย์
        ง. เตรียมปัญญาไว้ ถึงหาทรัพย์ได้ อิสรภาพต้องไม่เสีย
        จ. สังฆะ คือชุมชนของบุคคลที่เป็นอิสระ ทั้งโดยชีวิตและด้วยจิตปัญญา

🔅 บทที่ ๑๖ องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา ๓: หมวดสมาธิ
    ๖. สัมมาวายามะ
    ๗. สัมมาสติ
        คำจำกัดความ
        สติในฐานะอัปปมาทธรรม
        สติโดยคุณค่าทางสังคม
        บทบาทของสติในกระบวนการพัฒนาปัญญา หรือการกำจัดอาสวกิเลส
        สติปัฏฐานในฐานะสัมมาสติ
        สาระสำคัญของสติปัฏฐาน
            ก. กระบวนการปฏิบัติ
            ข. ผลของการปฏิบัติ
        เหตุใดสติที่ตามทันขณะปัจจุบัน จึงเป็นหลักสำคัญของวิปัสสนา?
        สติปัฏฐาน เป็นอาหารของโพชฌงค์
    ๘. สัมมาสมาธิ
        ความเข้าใจเบื้องต้น
            ก. ความหมายของสมาธิ
            ข. ระดับของสมาธิ
            ค. ศัตรูของสมาธิ
            ง. ลักษณะของจิตที่เป็นสมาธิ
            จ. ความมุ่งหมายและประโยชน์ของสมาธิ: มองอย่างทั่วไป
            ฉ. ความมุ่งหมายและประโยชน์ของสมาธิ: สรุปตามประเภทของสมาธิภาวนา
            ช. ความมุ่งหมายและประโยชน์ของสมาธิ: ในแง่ช่วยป้องกันความไขว้เขว
    วิธีเจริญสมาธิ
        ๑) การเจริญสมาธิแบบธรรมดาพาไปเอง
        ๒) การเจริญสมาธิตามหลักอิทธิบาท
        ๓) การเจริญสมาธิอย่างสามัญ หรือฝึกสมาธิโดยใช้สติเป็นตัวนำ
        ๔) การเจริญสมาธิอย่างเป็นแบบแผน
            ข้อ ๑. ปลิโพธ
            ข้อ ๒. เข้าหากัลยาณมิตร
            ข้อ ๓. รับกรรมฐานที่เหมาะกับจริยา/จริต
                การรับกรรมฐาน
            ข้อ ๔. เข้าประจำที่
            ข้อ ๕. เจริญสมาธิ: หลักทั่วไป
            ข้อ ๖. เจริญสมาธิ: อานาปานสติภาวนา เป็นตัวอย่าง
                ก) ข้อดีพิเศษของอานาปานสติ
                ข) พุทธพจน์แสดงวิธีปฏิบัติ
                ค) วิธีปฏิบัติภาคสมถะ
    ผลสูงสุดของสมาธิ และสู่ความสมบูรณ์เหนือสมาธิ
        ก) ผลสำเร็จและขอบเขตความสำคัญของสมาธิ
        ข) องค์ประกอบต่างๆ ที่ค้ำจุน เกื้อหนุน และเสริมประโยชน์ของสมาธิ
            (๑) ฐาน ปทัฏฐาน และที่หมายของสมาธิ
            (๒) องค์ประกอบร่วมของสมาธิ
            (๓) เครื่องวัดความพร้อม
            (๔) คณะทำงานของปัญญา
            (๕) องค์มรรคสามัคคีพร้อมได้ที่
บันทึกพิเศษท้ายบท
    บันทึกที่ ๑: การเจริญสติปัฏฐาน คือการอยู่อย่างไม่มีความทุกข์ที่จะต้องดับ

🔅 บทที่ ๑๗ บทสรุป: อริยสัจ ๔
    ฐานะและความสำคัญของอริยสัจ
    ความหมายของอริยสัจ
    อริยสัจ กับปฏิจจสมุปบาท
    กิจในอริยสัจ
    แนวอธิบายอริยสัจโดยสังเขป
        ก) ยกทุกข์ขึ้นพูดก่อน เป็นการสอนเริ่มจากปัญหา เพื่อใช้วิธีการแห่งปัญญา
        ข) ค้นเหตุปัจจัยให้พบด้วยปัญญา ไม่มัวหาที่ซัดทอด
        ค) ชีวิตที่เป็นอยู่ด้วยปัญญา มีความสุขอย่างอิสระ และทำกิจด้วยกรุณา
        ง) ถ้าถึงพระรัตนตรัย ก็ไม่รอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ฤทธิ์ปาฏิหาริย์ เลิกฝากตัวกับโชคชะตา
        จ) ทางของอารยชนกว้างและสว่าง ทั้งพึ่งตนได้ และคนทั้งหลายก็ช่วยหนุนกัน
        ฉ) เมื่อพระรัตนตรัย พาเข้าและคืบไปในไตรสิกขา มรรคก็พัฒนาสู่จุดหมาย
    วิธีแก้ปัญหาแบบพุทธ
    คุณค่าที่เด่นของอริยสัจ
    สรุป “พุทธธรรม” ลงในอริยสัจ
บันทึกพิเศษ - เสริมบทสรุป
    ข้อสังเกตบางประการ ในการศึกษาพุทธธรรม
        ก. ภาคมัชเฌนธรรมเทศนา หรือ ภาคกระบวนธรรม
        ข. ภาคมัชฌิมาปฏิปทา หรือ ภาคกระบวนวิธี

👬 อารยธรรมวิถี
🙏 ตอน ๖: ชีวิตที่ดี เป็นอย่างไร?

🔅 บทที่ ๑๘ บทความประกอบที่ ๑: ชีวิตและคุณธรรมพื้นฐานของอารยชน
    คุณสมบัติของบุคคลโสดาบัน
        ก. คุณสมบัติฝ่ายมี
        ข. คุณสมบัติฝ่ายหมด หรือฝ่ายละ
    บุคคลโสดาบันตามนัยพุทธพจน์
        ก) คำเรียก คำแสดงคุณลักษณะ และไวพจน์ต่างๆ ของบุคคลโสดาบัน
        ข) คุณสมบัติทั่วไป
        ค) คุณสมบัติในแง่ละได้ และที่เป็นผล
        ง) คุณสมบัติและข้อปฏิบัติก่อนเป็นโสดาบัน
    คุณสมบัติหลักของบุคคลโสดาบัน
    ความเข้าใจเพิ่มเติมเกี่ยวกับคุณสมบัติสำคัญของบุคคลโสดาบัน
    คุณสมบัติเด่นของบุคคลโสดาบัน ที่เป็นคติสำคัญแก่คนยุคปัจจุบัน
บันทึกพิเศษท้ายบท
    บันทึกที่ ๑: ความหมายของ สุตวา อริยสาวก และอริยธรรม เป็นต้น
    บันทึกที่ ๒: เหตุที่คนให้ทาน

🔅 บทที่ ๑๙ บทความประกอบที่ ๒: ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
    สามคำสำคัญในชุดของศีล: ศีล วินัย สิกขาบท
    ศีลระดับธรรมอยู่ที่ตัวคน ศีลระดับวินัยขยายผลเพื่อสังคม
    ตัวอย่างหลักปฏิบัติที่มุ่งเพื่อเชิดชูธรรมความดีงามและประโยชน์สุขของสังฆะและสังคม
        ก) การกราบไหว้ตามแก่อ่อนพรรษา
        ข) พุทธบัญญัติห้ามภิกษุอวดอุตริมนุสสธรรม
        ค) ทำไมจึงทรงยกย่องสังฆทานว่ามีผลมากที่สุด
    หัวใจของวินัย: เคารพสงฆ์ ถือสงฆ์และกิจสงฆ์เป็นใหญ่ มั่นในสามัคคี
    ชูธรรม ถือหลักการ มีประโยชน์สุขของประชาชนเป็นจุดหมาย
    วินัยในความหมายที่กว้างใหญ่เลยจากศีล
บันทึกพิเศษท้ายบท
    บันทึกที่ ๑: แสดงธรรม บัญญัติวินัย
    บันทึกที่ ๒: ศีล วินัย ศีลธรรม
    บันทึกที่ ๓: ความหมายบางอย่างของ “วินัย”
    บันทึกที่ ๔. การปฏิบัติเพื่อประโยชน์สุขของพหูชน
    บันทึกที่ ๕: เคารพธรรม เคารพวินัย
    บันทึกที่ ๖: การเคารพตามอายุสมาชิกภาพ

🔅 บทที่ ๒๐ บทความประกอบที่ ๓: เรื่องเหนือสามัญวิสัย: ปาฏิหาริย์ - เทวดา ๔
    อิทธิปาฏิหาริย์
    อิทธิปาฏิหาริย์ คืออะไร? และแค่ไหน?
    ปาฏิหาริย์ ไม่ใช่แค่ฤทธิ์ แต่มีถึง ๓ อย่าง
    อิทธิปาฏิหาริย์ ไม่ใช่ธรรมที่เป็นแก่นสาร
    อิทธิฤทธิ์ ชนิดอริยะ และชนิดอนารยะ
    โทษแก่บุถุชน ในการเกี่ยวข้องกับเรื่องฤทธิ์
    แนวปฏิบัติที่ถูกต้อง ในการเข้าไปเกี่ยวข้องกับเรื่องฤทธิ์
    เทวดา
    มนุษย์ กับ เทวดา เปรียบเทียบฐานะกัน
    มนุษย์กับเทวดา ความสัมพันธ์ใด ที่ล้าสมัย ควรเลิกเสีย
    หวังพึ่งเทวดา ได้ผลนิดหน่อย แต่เกิดโทษมากมาย
    สร้างความสัมพันธ์ที่ถูกต้อง ระหว่างมนุษย์กับเทวดา
    ความสัมพันธ์แบบชาวพุทธ ระหว่างมนุษย์กับเทวดา
    สรุปวิธีปฏิบัติต่อเรื่องเหนือสามัญวิสัย
    พัฒนาการแห่งความสัมพันธ์ ๓ ขั้น
    ก้าวสู่ขั้นมีชีวิตอิสระ เพื่อจะเป็นชาวพุทธที่แท้
    วิธีปฏิบัติที่ถูกต้อง ต่อสิ่งเหนือสามัญวิสัย
    ปฏิบัติถูกต้อง คือเดินหน้า เป็นชาวพุทธ คือไม่หยุดพัฒนา
บันทึกพิเศษท้ายบท
    บันทึกที่ ๑: อิทธิปาฏิหาริย์ในคัมภีร์
    บันทึกที่ ๒: การช่วย และการแกล้ง ของพระอินทร์
    บันทึกที่ ๓: สัจกิริยา ทางออกที่ดีสำหรับผู้ยังหวังอำนาจดลบันดาล
    บันทึกที่ ๔. พระพุทธ เป็นมนุษย์ หรือเทวดา
    
🔅 บทที่ ๒๑ บทความประกอบที่ ๔: ปัญหาเกี่ยวกับแรงจูงใจ
    กลไกชีวิตในการกระทำ
    แง่ความหมายที่ช่วยให้เข้าใจตัณหา และฉันทะ ชัดยิ่งขึ้น
        แง่ที่ ๑) การไม่กระทำ อาจเป็นการกระทำอย่างแรง
        แง่ที่ ๒) ตัณหา เป็นแรงจูงใจให้กระทำในระบบเงื่อนไข
    ความเข้าใจหลักธรรม ตามหลักฐานทางวิชาการ
    “ฉันทะ” คือคำหลัก ที่ต้องแยกแยะความหมาย ให้หายสับสนทางภาษา
    “ฉันทะ” อย่างไหนเป็นต้นตอของทุกข์ อย่างไหนคือที่ตั้งต้นของกุศลธรรม
        นัยที่ ๑: ฉันทะ เป็นมูลแห่งทุกข์ และเป็นมูลของอุปาทานขันธ์ ๕
        นัยที่ ๒: ฉันทะ เป็นมูลของธรรมทั้งปวง
    "ฉันทะ" ถึงจุดลงตัวของความหมายที่ใช้เป็นมาตรฐาน
    การศึกษาเชิงเปรียบเทียบ: ตัณหา กับฉันทะ
    แรงจูงใจแห่งตัณหา
    แรงจูงใจแห่งฉันทะ
    อธิบายเชิงเปรียบเทียบ
    ปัญหาจากระบบเงื่อนไขของตัณหา
    ผลดีจากระบบตรงไปตรงมาของฉันทะ
    สภาพการกิน ภายใต้ครอบงำของระบบเงื่อนไข
    การสืบพันธุ์: ระบบธรรมชาติที่แทบเลือนหาย ภายใต้อารยธรรมแห่งกามคุณ
    กินด้วยปัญญา พาให้กินพอดี
    ข้อพิจารณาเชิงซับซ้อน
    เมื่อใฝ่ร้าย กับใฝ่ดี แทรกซ้อนซึ่งกัน
    เมื่อไม่มีอะไรล่อตัณหา ก็พึ่งพาได้แต่ฉันทะ
    คนวนอยู่ที่อยากให้ตัวได้สิ่งที่ปรารถนา ... รักษาความมั่นคงของอัตตาไว้
    ฉันทะต่อของ ขยายสู่เมตตาต่อคน
    แม้ว่าฉันทะจะขยายไปถึงเมตตากรุณา ตัณหาก็ยังตามไปรังควาน
    ทวนความหมาย และกระบวนการเกิดของฉันทะ
    ฉันทะอยากชั่ว ตัณหาอยากดี มีหรือไม่?
    ระวังไว้ ฉันทะมา ตัณหาอาจจะสอด หรือแทรกสลับ
    อยากนิพพาน อย่างไรเป็นฉันทะ อย่างไรเป็นตัณหา
    ตัณหาให้ละแน่ แต่ฉันทะก็ละอีกแบบหนึ่ง
    จะละตัณหา ก็ใช้ตัณหาได้ แต่ไม่วายต้องระวัง
บทสรุป
    มนุษย์เป็นสัตว์วิเศษ ต้องเพิ่มเดชด้วยฉันทะ มิใช่จะมัวเป็นทาสของตัณหา
    ถึงจะพ้นตัณหา ได้ฉันทะมา ก็ยังต้องเดินหน้าไปกับปัญญา
    ปัญญามาแทนที่ ตัณหาหมดหน้าที่ มีฉันทะเต็มที่
    ปัญญาและกรุณา ตัวกำกับและขับเคลื่อนการทำงานของมหาบุรุษ
    สรุปข้อควรกำหนดเกี่ยวกับตัณหาและฉันทะ
    พัฒนาคนได้ ด้วยการพัฒนาความต้องการของเขา

🔅 บทที่ ๒๒ บทความประกอบที่ ๕: ความสุข ๑: ฉบับแบบแผน
    รู้จักกามสุข และเสพบริโภคอย่างมีปัญญา ที่ทำให้เป็นอิสระเสรี
    ความสุขมีหลากหลาย สูงขึ้นไปตามลำดับขั้น
    กามสุขของมนุษย์ ของสวรรค์ และความสุขที่ดีกว่านั้น
    ส่วนเสีย หรือข้อด้อยของกามสุข
    พระพุทธเจ้ายืนยันว่า ทรงมีความสุขยิ่งกว่าบุคคลที่โลกถือกันว่ามีความสุขที่สุด
    เทียบกามสุขตำไว้ เพื่อให้เร่งพัฒนาความสุข จะได้มีสุขที่เลือกได้
    ถึงจะยังบริโภคกามสุข ก็ต้องมีปัญญารักษาอิสรภาพไว้ รู้หนทางปลอดภัยจากกามทุกข์
    บริโภคกามสุขอย่างอิสรชน รู้จักจัดรู้จักใช้ขยายประโยชน์สุข ก็เป็นผู้ประเสริฐ
    สุขใน สุขประณีต จนถึงสุขสูงสุด
    ก้าวสู่ความสุขที่ประณีตสูงขึ้นไป
    สุขเหนือเวทนา
    สุขได้ไม่ต้องพึ่งเวทนา คืออิสรภาพ และเป็นสุขภาวะที่สมบูรณ์
    ถึงนิพพาน สุขเต็มสุดแล้ว จะเลือกสุขอย่างไหนก็ได้ ทำไมมองลงมาไม่ถึงกามสุข
    ทบทวนความสุขที่คนสามารถพัฒนาไปถึงได้
บทสรุป
    หลักการพื้นฐานแห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าว่า ความสุขลุถึงได้ด้วยความสุข
    เรียนรู้ให้ชัด วิธีปฏิบัติต่อความสุข
    มองความสุขเชิงปฏิบัติ วัดจากการพัฒนาของชาวบ้านขึ้นไป
        ๑. กรณีที่เสวยกามสุข
        ๒. กรณีที่ไม่เสวยกามสุข
บันทึกพิเศษท้ายบท
    บันทึกที่ ๑: ความสุข จัดเป็นคู่ๆ
    บันทึกที่ ๒: ความสุข จัดเป็น ๓ ระดับ (อีกแบบหนึ่ง)

🔅 บทที่ ๒๓ บทความประกอบที่ ๖: ความสุข ๒: ฉบับประมวลความ
    ความนำ
    พุทธศาสนา คือ ระบบการพัฒนาความสุข
    พุทธศาสนาสอนว่า สุขถึงได้ด้วยสุข
    ภาคหลักการ
    ความสุข คืออะไร
    ความต้องการ คืออะไร และสำคัญอย่างไร
    พอจะได้ใจพองฟูขึ้นไป เป็นปีติ ได้สมใจสงบลงมา เป็นความสุข
    สองทางสายใหญ่ ที่จะเลือกไปสู่ความสุข
    ถ้าการศึกษาพัฒนาคนให้มีความสุขด้วยฉันทะได้ จริยธรรมไม่หนีไปไหน
    กฎมนุษย์สร้างระบบเงื่อนไข
    ถ้าให้ระบบเงื่อนไขหนุนกฎธรรมชาติได้ ก็จะมีผลดีจริง
    รู้ทันว่าอยู่ในระบบเงื่อนไข ก็ใช้มันให้เต็มคุณค่า
    ความสนุกในการเรียน กับความสุขในการศึกษา
    แค่มีความสุขในการเรียน ยังไม่พอ ต้องขอให้ เรียนแล้วกลายเป็นคนมีความสุข
    ความสุขมีมากมาย ธรรมชาติรอบกายก็รอจะให้ความสุข
    จะพัฒนาความสุข ต้องพัฒนาความต้องการต่อเพื่อนมนุษย์ด้วย
    ความสุขเหนือกาล เมื่อเหนือการสนองความต้องการ
    สุขเพราะได้เกาที่คัน กับสุขเพราะไม่มีที่อันจะต้องเกา
    การพัฒนาความสุขะ วัดผลเชิงอุดมคติ

ภาคปฏิบัติการ
    ทุกข์มีทุกข์มา อย่าเสียท่าเอาใจรับ แต่จงเรียกปัญญาให้มาจับเอาทุกข์ไปจัดการ
    ทั้งทุกข์และสุข ปฏิบัติให้ถูก มีแต่สุข ทุกข์ไม่มี
    ความสุขที่พึ่งเน้น สำหรับคนทั่วไป เริ่มตั้งแต่ในบ้าน
    พัฒนากามสุขที่สุขแย่งกัน ให้มีความสุขที่สุขด้วยกัน
    ชีวิตจะพัฒนา ถ้าได้ปราโมทย์มาเป็นพื้นใจ
    สังคมจะมีสันติสุขได้ คนต้องรู้จักความสุขจากการให้
    ไม่เฉพาะสังคม แม้ในสังฆะ พระก็ถือหลักแบ่งปันลาภ
    ให้ความดีงามในจิตใจบุคคล ออกมาเป็นปฏิบัติการเกื้อสังคม
    บุคคลเอื้ออารี สังคมสามัคคี ทุกคนได้ ทุกคนดี มีสุขด้วยกันและทั่วกัน
    คนมีปัญญา แม้แต่ทุกข์ ก็เห็นคุณค่า และใช้ประโยชน์ได้
    ความสุขมีคุณมาก โทษก็หนัก ต้องรู้จักใช้
    ของเสพเต็มไปหมด สุขกลับลด ทุกข์ก็ง่าย
    จะสุขง่าย ทุกข์ได้ยาก หากฝึกไว้

บทลงท้าย
    ความสุขที่สมบูรณ์ ดูอย่างไร
    เมื่อสุขของบุคคล คือสุขเพื่อมวลชนทั้งโลก

🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏