บทความ

๒. วิสุทธิ ๗

รูปภาพ
วิสุทธิ แปลว่า ความบริสุทธิ์ อันหมายถึงความบริสุทธิ์จากกิเลส  ที่เป็นไปทางกาย ทางใจ และทางปัญญา กล่าวโดยย่อได้แก่ ศีล สมาธิ  ปัญญา ที่เป็นไปโดยบริสุทธิ์หมดจดจากกิเลสทั้งปวง ความหมดจดจาก กิเลส มี ๓ ระดับ คือ หยาบ กลาง ละเอียด ทั้งทางกายทางจิตและปัญญา  ถ้าหมดจดจากกิเลสโดยศีล ก็หมดจดจากกิเลสอย่างหยาบ โดยสมาธิ ก็ หมดจดจากกิเลสอย่างกลาง โดยปัญญา ก็หมดจดจากกิเลสอย่าง ละเอียด  วิสุทธิเป็นธรรมที่ละเอียดมากและเป็นธรรมชนิดนำไปสู่แดน เกษม คือ พระนิพพาน ผู้ที่จะบรรลุพระนิพพานได้นั้นต้องดำเนินไป ด้วยวิสุทธิ คือ ต้องดำเนินไปด้วยความหมดจดจากกิเลส วิสุทธิ ๗ นี้มีการ ดำเนินไปที่เกี่ยวเนื่องกับญาณ ๑๖ ดังนั้นจึงแสดงตารางความสัมพันธ์กันของวิสุทธิ  ๗ และญาณ ๑๖ ไว้ที่หน้าสุดท้าย วิสุทธิมี ๗ คือ   ๑. สีลวิสุทธิ  ความบริสุทธิ์แห่งศีล  ๒. จิตตวิสุทธิ  ความบริสุทธิ์แห่งจิต  ๓. ทิฏฐิวิสุทธิ  ความบริสุทธิ์แห่งความเห็นที่ถูกต้อง ๔. กังขาวิตรณวิสุทธิ  ความบริสุทธิ์ของญาณที่ข้ามพ้น ความสงสัย ๕. มัคคามัคคญาณทัส สนวิสุทธิ   ความบริสุทธิ์ในการเห็นแจ...

๑.๔ ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน

รูปภาพ
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน   เป็นหลักการใช้สติพิจารณาธรรมอันเป็นสภาวะโดยรวมทั้งรูปธรรมและนามธรรม ทั้งภายนอกและภายใน ในการพิจารณากำหนดรู้สภาวธรรมนั้น ต้องกำหนดรู้ไปตามลำดับ ตั้งแต่อย่างหยาบไปจนถึงอย่างละเอียดที่สุด ซึ่งเป็นข้อปฏิบัติที่ลึกซึ้งกว่าการเห็นกาย เวทนา และจิตอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามที่ได้ศึกษาผ่านมาแล้ว ถ้าหากพิจารณาในข้อปฏิบัตินี้ให้ตรงจุดอันเป็นการปฏิบัติแบบพิจารณา ธรรมคือรู้ความจริง แบบสัจจะ คือ อริยสัจจ์ การปฏิบัติไม่ใช่แค่ให้กำหนดรู้เรื่องสภาวธรรมอันเป็นทุกข์ทั้งปวง เท่านั้น แต่ยังต้องมีการกำหนดรู้ทาง แห่งการดับทุกข์รวมไว้ด้วย  เริ่มต้นพิจารณา ให้รู้โดยเปรียบเทียบว่า เราเหมือนกับถูกย่างอยู่ในเพลิงทุกข์อย่างไร โดยเริ่มพิจารณาจากทุกข์หยาบๆ เช่น ความใคร่ในกาม ความพยาบาท ความหดหู่ ความฟุ้งซ่าน และความลังเลสงสัย ต้องศึกษาและปฏิบัติวิธีการเอาตัวออกมาจากไฟเสียก่อน แล้วจึงค่อยคิดกำจัดเชื้อไฟ อาวุธสำคัญของการเจริญธัมมานุปัสสนา คือ ต้องรู้เข้าไปในธรรมทั้งปวงว่ามีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา ไม่มีอะไรน่ายึดมั่นถือมั่นแม้แต่นิดเดียว    ว่าด้วยการใช้สติ พิจารณานิวรณ์  ภิกษ...

๑.๓ จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน

รูปภาพ
จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน  จิตเป็นสิ่งถูกรู้ได้ยากกว่าเวทนา เพราะปกติคนเราจะถูกความรู้สึกนึกคิดห่อหุ้มไว้ เป็นเปลือก หนาชั้นแรกสุด หากขาดการรองรับจากการรู้ระดับต้นๆ เช่น การมีสติกำหนดรู้กายในกายานุปัสสนา และการกำหนดรู้เวทนาในเวทนานุปัสสนา ก็จะเข้าถึงการรู้สภาพจริงๆ ของจิตในปัจจุบันขณะได้ยาก มาก เมื่อพิจารณาข้อปฏิบัติการดูจิตก็คือให้รู้จักจิตทุกแบบ ไม่ยกเว้นแม้แต่จิตที่นิ่ง หรือจิตที่หลุดพ้น พระพุทธองค์ทรงมีอุบายวิธีให้รู้จักจิตอย่างเหมาะสมในขั้นต้น คือให้ดูที่เปลือกหยาบของจิตก่อน คือให้รู้ ตามจริงว่าจิตมีราคะเป็นอย่างไร จิตมีโทสะเป็นอย่างไร จิตมีโมหะเป็นอย่างไร พอเห็นบ่อยๆ ก็ค่อยๆ  เข้าใจสภาวะของจิตแบบหยาบได้เองว่ามีลักษณะอย่างไร เมื่อเห็นสภาวจิตแบบหยาบได้ ต่อไปก็ค่อย พัฒนาไปเห็นสภาวจิตแบบละเอียดได้เช่นกัน และสรุปสุดท้ายก็ให้รู้ว่าจิตทุกสภาวะนั้นมีลักษณะ เหมือนกันหมด คือ มีความไม่เที่ยง ทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ ต้องมีการแปรปรวนเปลี่ยนแปลงไปเป็น ธรรมดาเหมือนกัน หลักการใช้สติพิจารณาจิต   ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ควรพิจารณาจิตดังต่อไปนี้ คือ ถ้าจิตมีราคะ (โลภ กำหนัด) ก็ใ...

🔊 พระวัปปเถระ

รูปภาพ
วัปปเถรคาถา สุภาษิตว่าด้วยการเห็นและไม่เห็นอันธพาล "บุคคลผู้สมบูรณ์ด้วยทัสสนะ ย่อมเห็นคนอันธพาลผู้เห็นอยู่ด้วย ย่อมเห็นคนอันธพาลผู้ไม่เห็นอยู่ด้วย ส่วนคนอันธพาลผู้ไม่สมบูรณ์ด้วยทัสสนะย่อมไม่เห็นคนอันธพาลผู้ไม่เห็นและคนอันธพาลผู้เห็น" เล่นออดิโอ 🔈 Your browser does not support the audio element. พระวัปปเถระ เป็นบุตรพราหมณ์ในเมืองกบิลพัสดุ์ เมื่อคราวที่มหาบุรุษประสูติใหม่ พราหมณ์ผู้เป็นบิดาของท่านได้รับเชิญในการเลี้ยงโภชนาหารในพระราชพิธีทำนายพระลักษณะ ท่านได้เห็นพระลักษณะถูกต้องตามตำราลักษณพยากรณ์ศาสตร์ของมหาบุรุษ จึงเกิดความเลื่อมใสและเคารพในพระองค์เป็นอันมาก มีความหวังว่าอยากจะเห็นพระองค์ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า     ในคราวที่ตนจะสิ้นชีวิตจึงได้สั่งสอนบุตรของตนไว้ว่า เมื่อพระมหาบุรุษเสด็จออกทรงผนวชเมื่อใด ให้ติดตามเสด็จเมื่อนั้น ครั้นเมื่อพระมหาบุรุษออกทรงผนวชแล้วและกำลังบำเพ็ญทุกรกิริยา พระวัปปะพร้อมด้วยพราหมณ์ ๔ คน มีโกณฑัญญะเป็นหัวหน้า ออกบวชเป็นฤาษีตามเสด็จพระมหาบุรุษ คอยอุปัฏฐากทุกเช้าค่ำ คาดหวังว่าพระองค์ได้บรรลุธรรมแล้วจักได้สั่งสอนให้ตนได้บรรลุธรรมนั้นบ้าง เ...

🔊 พระอัญญาโกณฑัญญะ

รูปภาพ
เล่นออดิโอ🔈 พระอัญญาโกณฑัญญะ ตอนที่ ๑ Your browser does not support the audio element. พระอัญญาโกณฑัญญะ ตอนที่ ๒ Your browser does not support the audio element. พระอัญญาโกณฑัญญะ ตอนที่ ๓ Your browser does not support the audio element. พระอัญญาโกณฑัญญะ ตอนที่ ๔ Your browser does not support the audio element. พระอัญญาโกณฑัญญะ เอตทัคคะในทางรัตตัญญู 🙏พระอัญญาโกณฑัญญะ เกิดในตระกูลพราหมณ์ในหมู่บ้านโทณวัตถุ อันไม่ห่างไกล จากกรุงกบิลพัสดุ์ เดิมชื่อ “โกณฑัญญะ” เมื่อเจริญเติบโตขึ้นได้ศึกษาศิลปะวิทยาจบไตรเพท และวิชาการทำนายลักษณะอย่างเชี่ยวชาญ 🔅 ร่วมทำนายพระลักษณะ เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะประสูติได้ ๕ วัน พระเจ้าสุทโธทนะพระบิดา ได้เชิญพราหมณ์ ๑๐๘ คน มาเลี้ยงโภชนาหารในพระราชนิเวศน์ เพื่อทำพิธีทำนายพระลักษณะตามราชประเพณี ให้คัดเลือกพราหมณ์ผู้มีความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษจาก ๑๐๘ คน เหลือ ๘ คน และมีโกณฑัญญะ อยู่ในจำนวน ๘ คน นี้ด้วย ในบรรดาพราหมณ์ทั้ง ๘ คนนั้น โกณฑัญญะมีอายุน้อยที่สุดจึงทำนายเป็นคนสุดท้าย ฝ่ายพราหมณ์ ๗ คนแรก ได้พิจารณาตรวจดูพระลักษณะของสิทธัตถะอย่างละเอียด เห็นถูกต้องตา...

พระอรหันต์

พระอรหันต์ในสมัยพุทธกาล 🔈 พระอัญญาโกณฑัญญะ   เอตทัคคะในทางรัตตัญญู 🔈 พระวัปปเถระ    🔈 พระภัททิยเถระ    เอตทัคคะในทางผู้เกิดในตระกูลสูง 🔈 พระมหานามเถระ 🔈 พระมหาอัสสชิเถระ 🔈 พระยสเถระ 🔈 พระวิมลเถระ 🔈 พระสุพาหุเถระ 🔈 พระปุณณชิเถระ 🔈 พระควัมปติเถระ 🔈 พระอุรุเวลกัสสปเถระ 🔈 พระนทีกัสสปเถระ 🔈 พระคยากัสสปเถระ 🔈 พระสารีบุตรเถระ 🔈พระโมคคัลลานเถระ 🔈พระมหากัสสปเถระ 🔈พระมหากัจจายนเถระ 🔈พระอชิตเถระ 🔈พระติสสเมตเตยยเถระ 🔈พระปุณณกเถระ 🔈พระเมตตคูเถระ 🔈พระโธตกเถระ 🔈พระอุปสีวเถระ 🔈พระนันทกเถระ 🔈พระเหมกเถระ 🔈พระโตเทยยเถระ 🔈พระกัปปเถระ 🔈พระชตุกัณณีเถระ 🔈พระภัทราวุธเถระ 🔈พระอุทยเถระ 🔈พระโปสาลเถระ 🔈พระโมฆราชเถระ 🔈พระปิงคิยเถระ 🔈พระราธเถระ 🔈พระปุณณมันตานีบุตรเถระ 🔈พระกาฬุทายีเถระ 🔈พระนันทเถระ 🔈พระราหุลเถระ 🔈พระอุบาลีเถระ 🔈พระภัททิยเถระ 🔈พระอนุรุทธเถระ 🔈พระอานนทเถระ 🔈พระภคุเถระ 🔈พระกิมพิลเถระ 🔈พระโสณโกฬิวิสเถระ 🔈พระรัฏฐปาลเถระ 🔈พระปิณโฑลภารทวาชเถระ 🔈พระมหาปัณถกเถระ 🔈พระจูฬปัณถกเถระ 🔈พระโสณกุฏิกัณณเถระ 🔈พระลกุณฏกภัทิยเถระ 🔈.พระ...

สมสีสีบุคคล

รูปภาพ
สมสีสีบุคคล   คือบุคคล เมื่อคราวบรรลุอรหัตตมรรค ความสิ้นอาสวะ และ ความสิ้นชีวิต จะเป็นไปในคราวเดียวกัน เหตุเพราะศรีษะทั้งสองประเภท คือ อวิชชาในอกุศลจิตร อันเป็นกิเลสศรีษะ และ ชีวิตินทรีย์ในจุติจิตร อันเป็น ปวัตตศรีษะ ถึงความเสื่อมสิ้นกำลังไปพร้อมๆกัน ไม่ก่อนไม่หลังกันเลย คือ  ในขณะที่บรรลุอรหัตตมรรนั่นเอง ด้วยเหตุดังกล่าว เมื่ออรหัตตมรรคญาณ อรหัตตผลญาณ และอรหัตตปัจเวกขณะญาณสิ้นสุดลงตามลำดับแล้ว จิตรก็ลงสู่ภวังค์ถัดไปจุติจิตรก็ปรากฏขึ้น แต่เพราะความสูญสิ้นกำลังของชีวิตินทรีย์ในจุติจิตรนั่นเอง เป็นเหตุให้ปฏิสนธิจิตรเกิดขึ้นไม่ได้ พระอรหันต์จึงสิ้นภพสิ้นชาติได้ก็ด้วยประการฉะนี้แล การสิ้นภพสิ้นชาติแบบสมสีสี มี 3 ประเภทคือ ๑. อริยาปถสมสีสี ที่ใช้อิริยาบถสี่ เป็นอารมณ์เจริญวิปัสสนา ๒. โรคสมสีสี ที่ใช้โรค(เวทนา)ที่รุมเร้าอยู่เป็นอารมณ์เจริญวิปัสสนา ๓. ชีวิตสมสีสี ใช้อารมณ์(อื่นจากอิริยาบถและโรค) ที่รุนแรงต่อการเบื่อหน่ายปัญจขันธ์ เช่น บาดแผลที่เกิดจากการเชือดคอเป็นต้น เพื่อความเข้าใจประเภทอารมณ์ที่รุนแรงต่อการเบื่อหน่ายปัญจขันธ์ได้ถูกต้องชัดเจน คัมภีร์นิสสยอักษรล้านช้างจึงนำตัวอย่...

๑.๒ เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน

รูปภาพ
เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน เวทนานี้มีสภาพของความเป็นนาม นามจะรู้ได้ยากกว่ารูป แต่เวทนาก็ยังเป็นสิ่งถูกรู้ได้ง่ายกว่า สภาพของจิต เพราะความรู้สึกเป็นสุขและเป็นทุกข์ที่เรียกว่าเวมนานั้นเกิดขึ้นเนื่องจากผัสสะ คือ การ กระทบทางตา หูจมูก ลิ้น และกาย แม้แต่ความคิดซึ่งเข้ากระทบใจอยู่ตลอดก็มีผัสสะที่ให้ความรู้สึกเป็น สุขและเป็นทุกข์ได้ หากพิจารณาข้อปฏิบัติอันเป็นที่สุดของเวทนาก็คือให้รู้จักเวทนาทุกชนิด ทุกเงื่อนไข  โดยเริ่มจากง่ายๆ คือให้รู้ว่า อย่างนี้สุข อย่างนี้ทุกข์ อย่างนี้เฉยๆ เวทนาเป็นนามธรรมที่มีลักษณะ เฉพาะที่สังเกตเห็นได้ เช่น สุขใจ กับ ทุกข์ใจ เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะเห็นลักษณะของเวทนา ซึ่งเวทนาแต่ละ อย่างก็มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน การพิจารณาจะต้องเป็นไปเพื่อเข้าใจสภาพความเป็นจริง  เพื่อปล่อยวาง ฉะนั้นการปฏิบัติในหมวดเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน จิตจะเข้าไปรู้ธรรมชาติใน ระดับที่ละเอียดขึ้นกว่ากายานุปัสสนาแล้ว ยังเป็นการปฏิบัติที่เข้าใกล้สัจจะที่เกี่ยวกับอนิจจัง ของสภาวะแห่งรูปและนามได้ดีอีกด้วย หลักการใช้สติพิจารณาเวทนา  ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ควรพิจารณาเวทนา ดังต่อไปนี้ ...

สถานการณ์พุทธศาสนาจากอินเดียสู่เอเซีย

รูปภาพ
หัวข้อ มองสงครามอเมริกา-ตาลีบัน ผ่านภูมิหลังชมพูทวีป ตอนที่ ๑ Your browser does not support the audio element. ตอนที่ ๒ Your browser does not support the audio element. ตอนที่ ๓ Your browser does not support the audio element. ตอนที่ ๔ Your browser does not support the audio element. หัวข้อ ภัยแห่งพระพุทธศาสนาในประเทศไทย Your browser does not support the audio element. หัวข้อ มาลายูสู่แหลมทอง Your browser does not support the audio element. หัวข้อ   ศูนย์พุทธโลก ตอนที่ ๑ Your browser does not support the audio element. ตอนที่ ๒ Your browser does not support the audio element. ตอนที่ ๓ Your browser does not support the audio element.