
ธรรมบรรยาย คัมภีร์พุทธวงศ์ ตอนที่ ๒๑-๒๕
🙏 พระพุทธวงศ์ เป็นพระคัมภีร์ที่กล่าวถึงพระประวัติของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ที่ได้ตร…
พระอริยะบุคคล คือผู้ปฏิบัติเพื่อเข้าถึงนิพพาน ที่ดำเนินก้าวหน้ามาในทางที่ถูกจนถึงขั้นมองเห็นจุดหมายอยู่เบื้องหน้าและจะต้องบรรลุจุดหมายนั้นอย่างแน่นอน ท่าน…
อ่านต่อ »บรรดาสิ่งทั้งหลายที่มีอยู่ใช้คำเรียกให้สั้นที่สุดว่าธรรม ยืดออกไปหน่อยว่าสภาวะ หรือสภาวธรรม ชื่อก็บอกอยู่แล้วว่า สิ่งทั้งหลายนั้นมีอยู่เป็นอยู่ตามภาวะของมัน ตา…
อ่านต่อ »มีความเข้าใจสับสนเกี่ยวกับนิพพานซึ่งควรกล่าวถึง คือ ความเชื่อว่านิพพานคือภาวะที่เข้ารวมเป็นหนึ่งเดียวกับบรมสภาวะ พระผู้เป็นเจ้า ปรมาตมัน เป็นต้น ตามปกตินั้น พร…
อ่านต่อ »๑. วิขัมภนวิมุตติ : ความหลุดพ้นด้วยอำนาจสมาธิ ข่มกิเลสไว้ ได้แก่สมาบัติ ๘ แต่บางครั้งท่านผ่อนลงมาถึงอุปจารสมาธิด้วย ๒. ตทังควิมุตติ : ความหลุดพ้นด้วยองค์ธรรมจ…
อ่านต่อ »ความสุขเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นยิ่งในทางจริยธรรม และพระพุทธศาสนาก็สนับสนุนให้ปฏิบัติเพื่อเข้าถึงภาวะที่จะเสวยความสุขได้ในระดับต่างๆมากมายหลายระดับ โดยเฉพาะเน้นให…
อ่านต่อ »ลักษณะของพระอรหันต์ผู้เข้าถึงนิพพาน สรุปตามแนวหลัก ภาวิต ๔ คือ ผู้มีตนที่พัฒนาแล้ว, ท่านผู้ได้ทำภาวนา ๔ เสร็จแล้ว หลักนี้เป็นแนวเดียวกับ ไตรสิกขา ต่างกันที่สิ่…
อ่านต่อ »โดยพยัญชนะ นิพพาน มาจาก นิ (ไม่มี ออกไป) + วาน (พัดไป เครื่องร้อยรัด ลูกศร) อรรถกถาส่วนมากนิยมแปลว่า ไม่มีตัณหาเครื่องร้อยรัด หรือ ออกไปแล้วจากตัณหาที่เป็นเครื…
อ่านต่อ »ปัญหาของมนุษย์มาจากการที่ชีวิตนั้นโดยธรรมชาติ เป็นที่ตั้งของปัญหา คือ ทุกข์ อันเป็นสภาวะด้านหนึ่งตามธรรมชาติของชีวิต ที่ขึ้นต่อเหตุปัจจัยหลากหลาย ไม่เที่ยง ไม่…
อ่านต่อ »ปฏิกรรม เป็นคำสอนสำคัญส่วนหนึ่งของหลักกรรม แปลว่า การแก้ไข การทำให้กลับคืนดี หรือการกลับตัว ซึ่งเป็นหลักธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงสนับสนุนให้ปฏิบัติ มีหลักสำคัญคล้า…
อ่านต่อ »กรรม ๑๒ นี้ เป็นมติของอรรถกถาจารย์ มีข้อที่ได้ต้นเค้ามาจากพระไตรปิฎกคือ ๓ ข้อแรก โดยท่านจัดแบ่งกรรมไว้เป็น ๓ หมวด หมวดที่๑ จำแนกตามเวลาที่ให้ผล กรรมให้ผลในชาติ…
อ่านต่อ »หลักธรรมส่วนย่อยของปฏิจจสมุปบาท ที่นิยมอธิบายกันมากที่สุด ได้แก่ หลักกรรม เนื่องจากการอธิบายเรื่องกรรม อาจทำได้หลายระดับ คือ จะอธิบายอย่างง่ายๆในระดับผิวเผิน พ…
อ่านต่อ »👉 กลับไปหน้าแรก ๓๑. ไวยทิกวาทะ ๓๒. วิจัยเวสสันดรชาดก ๓๓. ปรปัจจัย ๓๔. ตอบปัญหาเรื่องพระเจ้า ๓๕. กำเนิ…
อ่านต่อ »กิเลส แปลว่า สภาพที่ทำให้จิตเศร้าหมอง, สิ่งเกาะติด สิ่งเปรอะเปื้อน สิ่งสกปรก จุดมุ่งหมายของการศึกษาเรื่องกิเลส คือ เพื่อให้มีความเข้าใจ รู้เท่าทัน ถึงคุณ โทษ …
อ่านต่อ »สฬายตนะของท่านก็ยังมีอยู่ ผัสสะของท่านก็ยังมีอยู่ จักขุสัมผัสสชาสุขเวทนา จักขุสัมผัสสชาทุกขเวทนามีอยู่เหมือนกับคนธรรมดาทุกอย่าง เหมือนกันหมดมา แตกต่างจากปุถุชน…
อ่านต่อ »🙏 พระพุทธวงศ์ เป็นพระคัมภีร์ที่กล่าวถึงพระประวัติของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ที่ได้ตร…
หน้าแรก | พระอภิธรรมเบื้องต้น | เนตติปกรณ์ | วิสุทธิมรรค
Dhamma-Sutta.com จัดทำขึ้นเพื่อเผยแผ่พระธรรมคำสอนโดยไม่มุ่งแสวงหาผลประโยชน์
อ้างอิงจากพระไตรปิฎก คำสอนพระอริยสงฆ์ และแหล่งข้อมูลอันถูกต้อง
© 2025 Dhamma-Sutta.com | ธรรมะเพื่อสันติสุข
Social Plugin