กลับไปการเวียนว่ายตายเกิด 🔰 หน้าแรก ถ้าหากว่าจะพิจารณาแล้วจะเห็นว่าธรรมะในพุทธศาสนานี้ไม่ใช่จะเกณฑ์คนทุกคนให้เป็นพระอรหันต์ในพริบตาเดียวหมด ถ้าไปถืออย่างนั้นล…
อ่านต่อ »ท่านสาธุชนทั้งหลาย หัวข้อปาฐกถาธรรมวันนี้เป็นการพูดข้อเบ็ดเตล็ดบางสิ่งบางอย่างที่ยังเป็นปัญหาในกลุ่มชาวพุทธมามกะของเรา เรื่องเบ็ดเตล็ดที่เป็นปัญหาที่ชาวพุทธข…
อ่านต่อ »ทางดำเนินเพื่อเข้าถึงธรรมของอริยชน, วิถีชีวิตของคนมีอารยธรรม ในยุคสมัยแห่งบริโภคนิยม มีวัตถุสิ่งเสพปรนเปรออยู่เป็นอันมาก คนยุคปัจจุบันอาจมีความรู้สึกต่อนิพพานใ…
อ่านต่อ »ชีวิตมนุษย์หรือสังคม จะเจริญอย่างเดียวไม่เสื่อมก็ได้ ปัจจัยสำคัญคือ ความไม่ประมาท ถ้ามนุษย์สามารถศึกษาพัฒนาตนเอง จนมีความรู้ความเข้าใจในอนิจจัง (ความเจริญและคว…
อ่านต่อ »พระพุทธเจ้าตรัสถึงปราโมทย์ (ความเบิกบานใจ) นี้บ่อยมาก สามารถตั้งเป็นจุดกำหนดได้เลยว่า เมื่อใดพระพุทธเจ้าตรัสแสดงความก้าวหน้าในการปฏิบัติธรรมมาตามลำดับ พอการปฏิ…
อ่านต่อ »วิธีเจริญสมาธิโดยใช้กรรมฐาน กรรมฐาน หมายถึง อารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งการงานของใจ, อุบายหรือวิธีฝึกจิตเจริญปัญญา กรรมฐาน มี ๒ คือ ๑. สมถกรรมฐาน : กรรมฐานเป็นอุบายส…
อ่านต่อ »ในชั้นอรรถกถาท่านจัดแยกสมาธิออกเป็น ๓ ระดับ คือ ระดับขั้นของสมาธิ ระดับที่ ๑ ขณิกสมาธิ : สมาธิชั่วขณะ, สมาธิขั้นต้นพอสำหรับใช้ในการเล่าเรียนทำการงานให้ได้ผลด…
อ่านต่อ »สัมมาวายามะ เป็นเรื่องของความเพียร แยกเป็น ๔ ข้อ เรียกว่า 🔎ปธาน ๔ คือ ๑. เพียรระวัง อกุศลที่ยังไม่เกิด ๒. เพียรกำจัด อกุศลที่เกิดขึ้นแล้ว ๓. เพียรเจริญ กุศล…
อ่านต่อ »มรรคในหมวดศีล มี ๓ ข้อดังนี้ สัมมาวาจา เจรจาชอบ กล่าวคือ เจตนางดเว้นจากการพูดเท็จ, ส่อเสียด, หยาบคาย, เพ้อเจ้อ สัมมากัมมันตะ กระทำชอบ กล่าวคือ เจตนางดเว้นจ…
อ่านต่อ »สัมมาทิฏฐิ : ความเห็นชอบ, ความเข้าใจถูกต้อง “ข้อที่ภิกษุจักทำลายอวิชชา ยังวิชชาให้เกิด ทำให้แจ้งซึ่งนิพพานได้ ด้วยทิฏฐิที่ตั้งไว้ชอบ ด้วยมรรคภาวนาที่ตั้งไว้ชอ…
อ่านต่อ »มรรค ๘ เรียกอย่างสั้นว่า การเป็นอยู่ด้วยปัญญา ดังนั้น ความรู้ความเข้าใจจึงเป็นแกนนำของความประพฤติปฏิบัติ ด้วยเหตุนี้ มรรค ๘ จึงมีสัมมาทิฏฐิเป็นองค์ประกอบข้อแ…
อ่านต่อ »