Latest
Sponsor
ขออนุโมทนาผู้ใฝ่ธรรม
ค้นหาบล็อกนี้
Blog Archive
-
►
2024
(34)
- ► กุมภาพันธ์ (1)
-
►
2023
(50)
- ► กุมภาพันธ์ (2)
-
►
2022
(94)
- ► กุมภาพันธ์ (8)
-
►
2021
(189)
- ► กุมภาพันธ์ (6)
Style5[ImagesOnly]
Style4
Flicker Images
หน้าแรก | พระอภิธรรมเบื้องต้น | เนตติปกรณ์ | วิสุทธิมรรค
Dhamma-Sutta.com จัดทำขึ้นเพื่อเผยแผ่พระธรรมคำสอนโดยไม่มุ่งแสวงหาผลประโยชน์
อ้างอิงจากพระไตรปิฎก คำสอนพระอริยสงฆ์ และแหล่งข้อมูลอันถูกต้อง
© 2025 Dhamma-Sutta.com | ธรรมะเพื่อสันติสุข
Menu Footer Widget
Boxed Version
Default Variables
Link List
Menu Footer Widget
About Me
Followers
Tags
ทำลืสรายการเพลง
Style3[OneLeft]
Style3[OneRight]
คติธรรมสอนใจ
Blogger news
🔍 ค้นหาธรรมะจากเว็บไซต์
Recent Posts
Labels
- ๑. ย้อนทางเข้าสู่แดนพุทธภูมิ
- ๒. เฝ้าพระพุทธเจ้า ที่ประทับ
- ๔๕พรรษาของพระพุทธเจ้า
- ๘๐ พระอรหันต์สมัยพุทธกาล
- กษัตริย์ลิจฉวี
- กสิณ
- กสิณสีขาว
- กสิณแสง
- กาม
- กาลิกบัพพ์
- ขันติ
- ขุททกนิกาย
- คัมภีร์พุทธวงศ์
- คาถา
- คุณค่าทางจริยธรรม
- จริยาปิฎก
- จาริกบุญ
- จิต
- จิตตสังคหวิภาค
- เจตสิกสังคหวิภาค
- ชัยมงคล
- ชาดก
- ตอน ๓: ชีวิตเป็นไปอย่างไร
- เตโช
- ไตรลักษณ์
- ถุลลัจจัย
- ทาน
- ทานบารมี
- ทุกกฏ
- ทุกข์
- ทุกขตา
- ทุพภาสิต
- ธรรมนิพนธ์พระพุทธโฆษาจารย์
- ธรรมบรรยาย
- ธัมมเทสนาปฎิสังยุตต์
- นรก
- นักธรรมตรี
- นิรัตตา
- นิสสัคคิยปาจิตตีย์
- นีลกสิณ
- เนตติปกรณ์
- บทที่ ๑ ขันธ์ ๕
- บทที่ ๒ อายตนะ ๖
- บทที่ ๓ ไตรลักษณ์
- บทที่ ๔ ปฎิจจสมุปบาท
- บารมี ๑๐
- ปกิณกะ
- ปกิณกะธรรม
- ปกิณณกสังคหวิภาค
- ปฎิจจสมุปบาท
- ปฐมเหตุโลกและชีวิต
- ปรมัตถสัจจ
- ปริจเฉทที่ ๑ จิตตสังคหวิภาค
- ปริจเฉทที่ ๑ สีลนิเทศ
- ปริจเฉทที่ ๒
- ปริจเฉทที่ ๒ ธุตังคนิเทศ
- ปริจเฉทที่ ๓
- ปริจเฉทที่ ๓ กัมมัฏฐานคหณนิเทศ
- ปริจเฉทที่ ๔ ปฐวีกสิณนิเทศ
- ปริจเฉทที่ ๕ เสสกสิณนิเทศ
- ปริเฉทที่ ๑
- ป.อ. ปยุตฺโต
- ปัจจเวกขณวิธี ๔ ประการ
- ปัจจัยสันนิสสตศีล
- ปัฎฐาน
- ปาจิตตีย์
- ปาราชิก
- ปีตกสิณ
- พระเจ้าอชาตศัตรู
- พระเจ้าอโศก
- พระไตรปิฎก
- พระพุทธดำรัส
- พระโพธิสัตว์
- พระวินัย
- พระสุตตันตปิฎก
- พระสูตร
- พระอภิธรรม
- พระอภิธัมมัตถสังคหะ
- พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก
- พาหุง
- พุทธธรรม
- พุทธธรรม (ปรับขยาย)
- พุทธประวัติ
- พุทธวงศ์
- มรรคมีองค์ ๘
- มหาวิภังค์
- มัชเฌนธรรมเทศนา
- มานะ
- ราชคฤห์
- รูป
- เล่มที่๑
- โลหิตกสิณ
- วาโย
- วินัยสงฆ์
- วิสุทธิมรรค
- เวทนา
- เวทนานุสติปัฎฐาน
- เวสสันดร
- ศัพท์ธรรม
- สติปัฎฐาน
- สมณวิสัย
- สวรรค์
- สังขตธรรม
- สังขาร
- สังฆาทิเสส
- สีหนาทวรรคที่ ๒
- สุตตันต
- เสขิยวัตร
- เสถียร โพธินันทะ
- เสียงเทศนา
- โสตะธรรม
- หมวดที่ ๖ ภพภูมิ
- อธิกรณสมถะ
- อนัตตตา
- อนัตตลักษณะ
- อนัตตา
- อนิจจตา
- อนิจจลักษณะ
- อนิยต ๒
- อ. ประณีต ก้องสมุทร
- อริยสัจ
- อริยสัจ ๔
- อสังขตธรรม
- อัตตา
- อากาศ
- อากาส
- อาชีวปรสุทธิศีล
- อานิสงค์ของทาน
- อาโปกสิณ
- อาสวะ
- อินทรียสังวรศีล
Featured author
admin
PostsThe Admin is a powerful person in this world, more powerful than the president of USA. The very mention of admin sends shivers down the president. You have been warned!
Slider[Style1]
Style2
Style3[OneLeft]
Style3[OneRight]
Style4
Style5[ImagesOnly]
Style6
สัญญา - วิญญาณ - ปัญญา
Posted by: ใบลานเปล่า Posted date: ธันวาคม 17, 2564 / comment : 0 บทที่ ๑ ขันธ์ ๕, พุทธธรรม (ปรับขยาย)
สัญญา - วิญญาณ - ปัญญา
สัญญาเปรียบเหมือนเด็กยังไม่เดียงสา มองดูเหรียญแล้วรู้แต่รูปร่าง ยาว สั้น เหลี่ยม กลม สี และลวดลายแปลกๆ สวยงามของเหรียญนั้น ไม่รู้ว่าเป็นของที่เขาตกลงกันใช้เป็นสื่อการแลกเปลี่ยนซื้อขาย
วิญญาณเปรียบเหมือนชาวบ้าน เห็นเหรียญแล้วรู้ทั้งรูปร่างลวดลายและรู้ว่าใช้เป็นสื่อการซื้อขายแลกเปลี่ยนได้ แต่ไม่รู้ซึ้งลงไปว่า เหรียญนี้แท้ เหรียญนี้ปลอม มีโลหะอะไรผสมกี่ส่วน
สัญญา - สติ - ความจำ
Posted by: ใบลานเปล่า Posted date: ธันวาคม 17, 2564 / comment : 0 บทที่ ๑ ขันธ์ ๕, พุทธธรรม (ปรับขยาย)
สัญญา - สติ - ความจำ
ตัวสภาวะ (ขันธ์ ๕)
Posted by: ใบลานเปล่า Posted date: ธันวาคม 14, 2564 / comment : 0 บทที่ ๑ ขันธ์ ๕, พุทธธรรม (ปรับขยาย)
ตอน ๑. ชีวิตคืออะไร?
ก. ชีวิตตามสภาพของมันเอง
ขันธ์ ๕ ส่วนประกอบห้าอย่างของชีวิต
(*คำว่า “อารมณ์” ในบทความนี้ ทุกแห่งใช้ในความหมายทางธรรมเท่านั้น คือหมายถึงสิ่งที่จิตรับรู้หรือสิ่งที่ถูกรับรู้ โดยอาศัยทวารทั้ง ๕ ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐพพะ และธรรมารมณ์ ความนึกคิดต่างๆ) ไม่มีความหมายอย่างที่เข้าใจกันทั่วๆ ไปในภาษาไทย ดูเพิ่มเติม 🔎ผัสสเจตสิก)
ถ้าประสบการณ์ใหม่ไม่ตรงกับประสบการณ์เก่า เราย่อมนำเอาประสบการณ์หรือความรู้เก่าที่มีอยู่แล้วนั่นเอง มาเทียบเคียงว่าเหมือนกันและไม่เหมือนกันในส่วนไหน อย่างไร แล้วหมายรู้สิ่งนั้นตามคำบอกเล่าหรือ ตามที่ตนกำหนดเอาว่าเป็นนั่น เป็นนี่ ไม่ใช่นั่น ไม่ใช่นี่ อย่างนี้เรียกว่ากำหนดหมายหรือหมายรู้การหมายรู้เช่นนี้ย่อมมีหลายชั้น หมายรู้ไปตามความตกลงอันเนื่องด้วยความรู้สามัญบ้าง เช่นว่า เขียว ขาว เหลือง แดง เป็นต้น ตามนิยมของโลก ของสังคม ของวัฒนธรรม ประเพณี เป็นต้นบ้าง เช่นว่า อย่างนี้สุภาพ อย่างนั้นสวยงาม อย่างนั้นถูกธรรมเนียม อย่างนี้ผิดธรรมเนียม เป็นต้น ตามนิยมและปรุงแต่งจำเพาะตนบ้าง เช่นว่า อย่างนี้สวย อย่างนั้นน่าชม อย่างนี้น่าหมั่นไส้ เป็นต้น
หมายรู้สองชั้น (แบบสัญลักษณ์) บ้าง เช่นว่า สีเขียวแดงหมายถึงมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง เสียงระฆังสองครั้งหมายถึงการกินอาหาร ตลอดจนตามการศึกษาอบรมในทางธรรม เช่น หมายรู้ในภาวะที่ไม่เที่ยงก็ไม่เที่ยง หมายรู้ในภาวะที่เป็นอนัตตา เป็นต้น มีทั้งความหมายรู้สามัญและความหมายรู้ที่ละเอียดซับซ้อน (คือสัมพันธ์กับขันธ์อื่นมากขึ้น) มีทั้งหมายรู้เกี่ยวกับรูปธรรมและหมายรู้เกี่ยวกับนามธรรม คำที่แปลสัญญากันว่า จำได้ กำหนดได้ หมายรู้ กำหนดหมาย จำหมาย สำคัญหมาย ล้วนแสดงแง่ต่างๆ แห่งความหมายของกองสัญญานี้ทั้งสิ้น พูดเพื่อเข้าใจกันอย่างง่ายๆ สัญญาก็คือกระบวนการเรียกเก็บ รวบรวมสั่งสมข้อมูลของการเรียนรู้และวัตถุดิบสำหรับความคิดนั่นเอง
คนที่หิวมากก็ดีใจเพราะผลมะม่วงเพียง ๓ – ๔ ลูก ก็จะช่วยให้ตนอิ่มพ้นอดตายได้
คนร้อนแดดอาจเสียใจ เพราะผิดหวังที่ไม้ใหญ่ไม่มีร่มให้อย่างที่ควรจะเป็น
คนหาผลไม้ไปขายก็อาจเสียใจเพราะผิดหวังต่อจำนวนผลไม้ที่น้อย
ส่วนคนหาที่ผูกสัตว์เลี้ยงอาจจะรู้สึกสบายใจแต่เพียงเล็กน้อย แค่โล่งใจว่าไม่ต้องจูงสัตว์ไปหรือไปหาที่ผูกที่อื่น
ได้ยินเสียงที่ไม่ปรารถนาน่ารำคาญ ➜ เกิดความทุกข์ ไม่สบาย ➜ ก็ไม่ชอบใจต่ออารมณ์นั้น
เวทนา จัดอยู่ในจำพวกวิบาก ไม่ดีไม่ชั่วโดยลำพังตัวของมัน (ดู ตอนว่าด้วยปฏิจจสมุปบาท)
วจีสังขาร การปรุงแต่งแสดงเจตจำนงทางวาจา หรือเจตนาที่ปรุงแต่งการกระทำทางวาจา
จิตตสังขาร การปรุงแต่งแสดงเจตจำนงทางใจ หรือเจตนาที่ปรุงแต่งการกระทำทางใจ
ต่างจากคำอธิบายแนวขันธ์ ๕ ซึ่งจำแนกสังขารเป็นองค์ธรรมเครื่องปรุงแต่งต่างๆ มี ศรัทธา สติ เมตตา กรุณา ปัญญา โลภะ โทสะ เจตนา สมาธิ เป็นต้น ถ้าจะเปรียบเทียบกับเรื่องรถ คำอธิบายแนวขันธ์ ๕ ก็เหมือนรถที่ตั้งแสดงให้ดูส่วนประกอบต่างๆ อยู่กับที่ ส่วนคำอธิบายแนวปฏิจจสมุปบาทที่จะกล่าวข้างหน้า เป็นเหมือนอธิบายเรื่องรถที่เดินเครื่องออกแล่นใช้งานจริง
บทปลงมนุษย์เอ๋ย
Posted by: ใบลานเปล่า Posted date: ธันวาคม 13, 2564 / comment : 0 ปกิณกะธรรม
บทปลงมนุษย์เอ๋ย
มนุษย์เราเอ๋ยเกิดมาทำไม นิพานมีสุขอยู่ใยมิไป
ตัณหาหน่วงหนัก หน่วงชักหน่วงไว้ ฉันไปมิได้ ตัณหาผูกพัน
ห่วงนั้นพันผูก ห่วงลูกห่วงหลาน ห่วงผัวห่วงเมีย
ห่วงการห่วงงาน ชื่อเสียงเงินทองทรัพย์สินศฤงคาร
จงละเสียเถิด เลิกยึดติดมั่น มุงสู่นิพพาน ข้ามพ้นภพสาม
ยามหนุ่มสาวน้อย หน้าตาแช่มช้อย ล้วนงามทุกอย่าง
แก่เฒ่าหนังยาน เกศาผมหงอก ฟันฟางผมเผ้า หลุดร่วงโรยลา
หน้าตาเว้าวอก ดูน่าบัดสี จะนั่งก็โอย จะลุกก็โอย แข้งขามือสั่น
เส้นสายพันพัว เอ็นใหญ่เก้าร้อย เอ็นน้อยเก้าพัน มันทำเข็ญใจ
ให้ร้อนให้เย็น เมื่อยขบทั้งตัว แก่แล้วโรคา เข้ามาหาตน
ได้ความทุกข์ทน โศกาอาวรณ์ บ่มีแก่นสาร ในตัวตนเลย
เราท่านเกิดมา รังแต่จะตาย ผู้ดีเข็ญใจ ก็ตายเหมือนกัน
ครั้นสิ้นลมปาก กลับกลายหายจาก เรียกกันว่าผี
ลูกรักผัวรัก เขาชักหน้าหนี เขาว่าซากผี เปื่อยเน่าพุพอง
เขาเสียมิได้ เขาไปเยี่ยมมอง เขาบ่ได้ต้อง เกลียดกลัวนักหนา
เขาผูกคอรัด มือเท้าเขามัด รัดรึงตรึงตรา เขาหามเอาไป ทิ้งในป่าช้า
แล้วกลับคืนมา สู่เหย้าเรือนพลัน ตนอยู่ป่าช้า โดดเดี่ยวเอกา
อยู่กับหมูหมา ดูน่าสมเพช กระดูกกูเอ๋ย เรี่ยรายแผ่นดิน
แร้งกาหมากิน เอาเป็นอาหาร อยู่ในป่ารก ได้ยินเสียงนก กึกก้องดงยาง
ได้ยินหมาใน ร้องไห้ครวญคราง ใจจิตอ้างว้าง วิเวกวังเวง
มีหมู่นกแขวก บินมาร้องแรก แถกขวัญของตน
ตายไปเป็นผี เขาไม่ไยดี ทิ้งไว้น่ากลัว ยิ่งคิดยิ่งพลัน กายสั่นระรัว
รำพึงถึงตัว อยู่ในป่าช้า ผัวมิ่งสินทรัพย์ ยิ่งแลยิ่งลับ ไม่เห็นตามมา
ทรัพย์สินนั่นเล่า ขนมาปันกัน ข้าวของทั้งนั้น ไม่ใช่ของเรา
เมื่อตนยังอยู่ เรียกว่าของกู เดี๋ยวนี้ของเขา แม้เงินใส่ปาก ยังล้วงเอาไป
ไปแต่ตัวเปล่า ไม่เห็นลูกหลาน รักเขาเสียเปล่า เขามิตามช่วย
ปล่อยเราทิ้งเน่า หนอนไต่ตามตัว ทิ้งไว้เน่าเสียทั่วสรรพางค์กาย
มนุษย์เราเอ๋ย อย่าหลงนักเลย เกืดมาต้องตาย จากไปผู้เดียว
ยามตายอ้างว้าง เหลือแต่ศีลทาน เมตตา ภาวนา
ตามเลี้ยงรักษา อุ่นเนื้ออุ่นใจ ศีลทานมาช่วย ได้เป็นเพื่อนม้วย
ภาวนานำทาง กุศลนำเกิด จนกว่าจะพบ ซึ่งพระนิพพาน
อธิบาย การบรรลุจตุตถฌาน
Posted by: ใบลานเปล่า Posted date: ธันวาคม 01, 2564 / comment : 0 ปริจเฉทที่ ๔ ปฐวีกสิณนิเทศ, วิสุทธิมรรค
อธิบาย การบรรลุจตุตถฌาน
🔅 ละสุขได้สนิทที่ตติยฌาน
อีกประการหนึ่ง แม้โสมนัสที่ละได้แล้วในขณะอุปจาระแห่งจตุตถฌานนั้น ยังจะพึงเกิดขึ้นได้อยู่ ทั้งนี้ เพราะเหตุที่อยู่ใกล้อย่างหนึ่ง เพราะยังไม่บรรลุถึง อัปปนาฌานอย่างหนึ่ง เพราะยังไม่มีอุเบกขาอย่างหนึ่ง เพราะยังไม่ผ่านไปโดยชอบอย่างหนึ่งแต่ในขณะจตุตถฌานจะเกิดขึ้นไม่ได้เลยเป็นอันขาด
🔅 เวทนา ๔ เป็นปัจจัยของอทุกขมสุขเจโตวิมุติ
อธิบาย จตุตถฌาน
- Popular Post
- Video
- Category
Popular Posts
-
อสุภะ ๑๐ อสุภะ หมายถึง ไม่สวยงาม มุ่งหมายถึงความเปลี่ยนแปลงของร่างกายของคนที่ตายไป การเจริญ อสุภกรรมฐานคือ การพิจารณาซากศพในลักษณะต่างๆกัน ...
-
รูปฌาน คือ การกำหนดสิ่งที่เป็นรูปธรรมเป็นอารมณ์ เช่น ปถวีกสิณ เป็นต้น ขณะที่ฌานจิตเกิด นั้นจิตจะต้องเป็นอัปปนาสมาธิ ลักษณะของอัปปนาสมาธิ ก็...
-
อาหาเรปฏิกูลสัญญา อาหาเรปฏิกูลสัญญา คือ การพิจารณาความเป็นปฏิกูลในอาหาร โดยกำหนดหมายว่าอาหารที่ บริโภคเป็นสิ่งปฏิกูล องค์ธรรมได้แก่ สัญญาเ...
Video Of Day
Labels
- ๑. ย้อนทางเข้าสู่แดนพุทธภูมิ
- ๒. เฝ้าพระพุทธเจ้า ที่ประทับ
- ๔๕พรรษาของพระพุทธเจ้า
- ๘๐ พระอรหันต์สมัยพุทธกาล
- กษัตริย์ลิจฉวี
- กสิณ
- กสิณสีขาว
- กสิณแสง
- กาม
- กาลิกบัพพ์
- ขันติ
- ขุททกนิกาย
- คัมภีร์พุทธวงศ์
- คาถา
- คุณค่าทางจริยธรรม
- จริยาปิฎก
- จาริกบุญ
- จิต
- จิตตสังคหวิภาค
- เจตสิกสังคหวิภาค
- ชัยมงคล
- ชาดก
- ตอน ๓: ชีวิตเป็นไปอย่างไร
- เตโช
- ไตรลักษณ์
- ถุลลัจจัย
- ทาน
- ทานบารมี
- ทุกกฏ
- ทุกข์
- ทุกขตา
- ทุพภาสิต
- ธรรมนิพนธ์พระพุทธโฆษาจารย์
- ธรรมบรรยาย
- ธัมมเทสนาปฎิสังยุตต์
- นรก
- นักธรรมตรี
- นิรัตตา
- นิสสัคคิยปาจิตตีย์
- นีลกสิณ
- เนตติปกรณ์
- บทที่ ๑ ขันธ์ ๕
- บทที่ ๒ อายตนะ ๖
- บทที่ ๓ ไตรลักษณ์
- บทที่ ๔ ปฎิจจสมุปบาท
- บารมี ๑๐
- ปกิณกะ
- ปกิณกะธรรม
- ปกิณณกสังคหวิภาค
- ปฎิจจสมุปบาท
- ปฐมเหตุโลกและชีวิต
- ปรมัตถสัจจ
- ปริจเฉทที่ ๑ จิตตสังคหวิภาค
- ปริจเฉทที่ ๑ สีลนิเทศ
- ปริจเฉทที่ ๒
- ปริจเฉทที่ ๒ ธุตังคนิเทศ
- ปริจเฉทที่ ๓
- ปริจเฉทที่ ๓ กัมมัฏฐานคหณนิเทศ
- ปริจเฉทที่ ๔ ปฐวีกสิณนิเทศ
- ปริจเฉทที่ ๕ เสสกสิณนิเทศ
- ปริเฉทที่ ๑
- ป.อ. ปยุตฺโต
- ปัจจเวกขณวิธี ๔ ประการ
- ปัจจัยสันนิสสตศีล
- ปัฎฐาน
- ปาจิตตีย์
- ปาราชิก
- ปีตกสิณ
- พระเจ้าอชาตศัตรู
- พระเจ้าอโศก
- พระไตรปิฎก
- พระพุทธดำรัส
- พระโพธิสัตว์
- พระวินัย
- พระสุตตันตปิฎก
- พระสูตร
- พระอภิธรรม
- พระอภิธัมมัตถสังคหะ
- พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก
- พาหุง
- พุทธธรรม
- พุทธธรรม (ปรับขยาย)
- พุทธประวัติ
- พุทธวงศ์
- มรรคมีองค์ ๘
- มหาวิภังค์
- มัชเฌนธรรมเทศนา
- มานะ
- ราชคฤห์
- รูป
- เล่มที่๑
- โลหิตกสิณ
- วาโย
- วินัยสงฆ์
- วิสุทธิมรรค
- เวทนา
- เวทนานุสติปัฎฐาน
- เวสสันดร
- ศัพท์ธรรม
- สติปัฎฐาน
- สมณวิสัย
- สวรรค์
- สังขตธรรม
- สังขาร
- สังฆาทิเสส
- สีหนาทวรรคที่ ๒
- สุตตันต
- เสขิยวัตร
- เสถียร โพธินันทะ
- เสียงเทศนา
- โสตะธรรม
- หมวดที่ ๖ ภพภูมิ
- อธิกรณสมถะ
- อนัตตตา
- อนัตตลักษณะ
- อนัตตา
- อนิจจตา
- อนิจจลักษณะ
- อนิยต ๒
- อ. ประณีต ก้องสมุทร
- อริยสัจ
- อริยสัจ ๔
- อสังขตธรรม
- อัตตา
- อากาศ
- อากาส
- อาชีวปรสุทธิศีล
- อานิสงค์ของทาน
- อาโปกสิณ
- อาสวะ
- อินทรียสังวรศีล
Find Us on Facebook
Flicker Images
หน้าแรก | พระอภิธรรมเบื้องต้น | เนตติปกรณ์ | วิสุทธิมรรค
Dhamma-Sutta.com จัดทำขึ้นเพื่อเผยแผ่พระธรรมคำสอนโดยไม่มุ่งแสวงหาผลประโยชน์
อ้างอิงจากพระไตรปิฎก คำสอนพระอริยสงฆ์ และแหล่งข้อมูลอันถูกต้อง
© 2025 Dhamma-Sutta.com | ธรรมะเพื่อสันติสุข